วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส

การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในที่นี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา)

หลักทั่วไป

แก้

1. การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสตามหลักเกณฑ์นี้ยึดการออกเสียงเป็นหลัก โดยถ่ายเสียงสระและพยัญชนะตามที่ออกเสียงในภาษาฝรั่งเศส และมีตารางเทียบเสียงพยัญชนะ เสียงกึ่งสระ และเสียงสระไว้ให้เป็นแนวเทียบ

2. สัญลักษณ์แทนเสียงที่แสดงไว้ในตารางใช้ตาม Le Petit Robert. Dictionnaire de la langue française, 2006. อย่างไรก็ดี ผู้ทับศัพท์อาจใช้พจนานุกรมการออกเสียงหรือพจนานุกรมภาษาฝรั่งเศสเล่มอื่นก็ได้เพราะการออกเสียงไม่ต่างกันมากนัก แต่ผู้ใช้ต้องทำความเข้าใจเรื่องสัญลักษณ์ สัทอักษร หรือวิธีการออกเสียงของพจนานุกรมเล่มนั้น ๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละเล่ม สัทอักษรสากลนั้นนอกจากจะใช้อักษรโรมันแทนเสียงแล้ว ยังได้ใช้สัญลักษณ์อื่น ๆ อีก ตัวอย่างต่อไปนี้นำมาจาก Le Petit Robert. Dictionnaire de la langue française, 2006. สัญลักษณ์ที่ปรากฏในเครื่องหมาย [ ] หมายถึงสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงอ่าน เช่น

เสียง ʃ ในคำ cher [ʃɛʀ]
เสียง ʒ ในคำ rouge [ʀuʒ]
เสียง ɲ ในคำ signe [siɲ]
เสียง y ในคำ perdu [pɛʀdy]
เสียง ø ในคำ feu [fø]
เสียง œ ในคำ heure [œʀ]
เสียง ɔ̃ ในคำ mon [mɔ̃]

3. คำภาษาฝรั่งเศสที่รับมาใช้ในภาษาไทยเป็นเวลานานแล้ว และมีคำไทยเขียนไว้ใช้แทนจนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป อาจใช้ตามรูปคำที่เขียนกัน เช่น

Napoléon [napɔleɔ̃] [นาปอเลอง]
champagne [ʃɑ̃paɲ] [ช็องปาญ]
=
=
นโปเลียน
แชมเปญ

4. คำทับศัพท์ที่มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เช่น คำในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง, ศัพท์บัญญัติชื่อแร่และศัพท์บัญญัติชื่อธาตุ ฯลฯ ให้ใช้ตามประกาศครั้งล่าสุด

5. เสียงสระที่ปรากฏในสัทอักษรที่อยู่ต้นคำ เมื่อทับศัพท์เป็นภาษาไทยให้ใส่ อ เพื่อเป็นทุ่นให้สระเกาะด้วย เช่น

aide [ɛd]
il [il]
haute [ot]
=
=
=

อี

6. ในภาษาฝรั่งเศส โดยทั่วไปเสียงสั้น-ยาวของสระไม่ทำให้ความหมายของคำเปลี่ยนแปลง แต่ในการออกเสียงพบว่าเสียงสระส่วนใหญ่ในพยางค์ปิดที่ตามด้วยพยัญชนะอโฆษะหรือพยัญชนะเสียงไม่ก้อง (sourd) ซึ่งได้แก่เสียง p, t, k, s, f และ ʃ สั้นกว่าเสียงสระในพยางค์เปิดและพยางค์ปิดที่ตามด้วยพยัญชนะโฆษะหรือพยัญชนะเสียงก้อง (sonore) ซึ่งได้แก่ เสียง b, d, ɡ, z, v, ʒ, l, ʀ, m, n และ ɲ จึงได้กำหนดให้ถ่ายเสียงสระในพยางค์ปิดที่ตามด้วยพยัญชนะอโฆษะเป็นสระเสียงสั้น และให้ถ่ายเสียงสระในพยางค์ปิดที่ตามด้วยพยัญชนะโฆษะรวมทั้งเสียงสระในพยางค์เปิดเป็นสระเสียงยาว

เสียงสระในพยางค์ปิดที่ตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ ทับศัพท์เป็นสระเสียงสั้น เช่น
patte [pat]
slip [slip]
être [ɛtʀ]
botte [bɔt]
route ut]
=
=
=
=
=
ปั
ลิ
อ็ทร์
บ็อต
รุ
เสียงสระในพยางค์ปิดที่ตามด้วยพยัญชนะโฆษะรวมทั้งเสียงสระในพยางค์เปิด ทับศัพท์เป็นสระเสียงยาว เช่น
chat a]
il [il]
aide [ɛd]
forum [fɔʀɔm]
rouge uʒ]
=
=
=
=
=

อี
อด
ฟอร
รู
ยกเว้นเสียงสระ o ให้ทับศัพท์เป็น โ– ทั้งในพยางค์ปิดและพยางค์เปิด เช่น
beau [bo]
Beauce [bos]
rose oz]
=
=
=

บส
รซ

7. ในภาษาฝรั่งเศสมีการแบ่งพยางค์อย่างชัดเจน เช่น animer [a.ni.me] จะแบ่งพยางค์ที่เสียง a แยกเสียง n เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป จึงทับศัพท์เป็น "อานีเม" คำ litige [li.tiʒ] จะแบ่งพยางค์ที่เสียง i แยกเสียง t เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป จึงทับศัพท์เป็น "ลีตีฌ" แม้คำที่มีพยัญชนะซ้อน 2 ตัวในรูปเขียน จะออกเสียงเพียงเสียงเดียว เช่น chopper [ʃɔ.pe] โดยจะแบ่งพยางค์ที่เสียง ɔ แยกเสียง p เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เมื่อทับศัพท์ไม่ต้องซ้อนพยัญชนะอีกหนึ่งตัว เช่น

chopper [ʃɔ.pe]
accueil [a.kœj]
=
=
ชอเ
อาเ

8. โดยปรกติระบบเสียงพยัญชนะ p, t, k ในภาษาฝรั่งเศสจะไม่มีเสียงพ่นลม แต่ในการออกเสียงจริงพบว่ามีการออกเสียงพ่นลมด้วยเมื่อตามด้วยเสียง ʀ จึงได้กำหนดให้เสียง p, t, k ในภาษาฝรั่งเศสใช้ตัวพยัญชนะไทยที่เป็นเสียงพ่นลม ดังนี้

8.1 กำหนดให้เสียง p ใช้ พ เมื่อตามด้วยเสียง ʀ เช่น
prénom [pʀenɔ̃]
prune [pʀyn]
=
=
รนง
รูน
8.2 กำหนดให้เสียง t ใช้ ท เมื่อตามด้วยเสียง ʀ เช่น
train [tʀɛ̃]
entrée [ɑ̃tʀe]
=
=
ร็ง
อ็องเ
8.3 กำหนดให้เสียง k ใช้ ค เมื่อตามด้วยเสียง ʀ เช่น
cri [kʀi]
créer [kʀee]
=
=
รี
รเอ

9. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ในภาษาไทยเครื่องหมายทัณฑฆาตใช้ฆ่าอักษรที่ไม่ต้องการออกเสียง เช่น "รัตน์" ในคำทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสให้ใช้กำกับตัวอักษรที่อ่านตามอักขรวิธีไทยไม่ได้ โดยใช้หลักเกณฑ์ดังนี้

9.1 เสียงพยัญชนะที่อยู่ท้ายพยางค์ในภาษาฝรั่งเศส พจนานุกรมบางเล่มกำหนดให้มีเสียง ə บางเล่มไม่กำหนดให้มีเสียง ə แต่เมื่อออกเสียงจะมีการออกเสียงเล็กน้อย ในการทับศัพท์ได้กำหนดให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของพยางค์ เช่น
fouine [fwi, fwin]
ombre [ɔ̃bʀə, ɔ̃]
=
=
ฟูยน์
องบร์
9.2 ในการทับศัพท์เสียงกึ่งสระ j ซึ่งกำหนดให้ใช้ ย เมื่อตามหลังสระบางเสียง เช่น i ไม่สามารถออกเสียงตามระบบเสียงภาษาไทยได้ จึงให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับบนตัว ย เช่น
bille [bij]
fille [fij]
=
=
บีย์
ฟีย์
9.3 คำที่มีเสียงพยัญชนะท้าย 2 เสียงหรือมากกว่า ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้ายแต่เพียงแห่งเดียว เช่น
feutre [fø]
bouddhiste [budist]
cycle [sikl]
registre [ʀəʒistʀ]
vivre [vi]
reprendre [ʀ(ə)pʀɑ̃]
=
=
=
=
=
=
เฟิทร์
บูดิสต์
ซิกล์
เรอฌิสทร์
วีฟวร์
เรอพร็องดร์
9.4 คำที่มีเสียงพยัญชนะ ʀ (ซึ่งกำหนดให้ใช้ ร) อยู่หลังสระ ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้บนตัว ร เช่น
cher [ʃɛʀ]
voiture [vwatyʀ]
parlement [paʀləmɑ̃]
=
=
=
แชร์
วัวตูร์
ปาร์เลอม็อง
9.5 คำที่มีเสียงพยัญชนะท้ายมากกว่า 2 เสียง และมีรูปพยัญชนะ r อยู่หลังสระ ไม่ต้องใส่ ร และให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย เช่น
cercle [sɛʀkl]
Sartre [saʀtʀ]
=
=
แซกล์
ซาทร์

10. การใช้ไม้ไต่คู้ คำทับศัพท์ให้ใช้ไม้ไต่คู้ในกรณีดังต่อไปนี้

10.1 ในคำที่มีเสียงสระ ɛ (แอะ) และเสียง ɔ (เอาะ) เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ เช่น
mettre [mɛtʀ]
messe [mɛs]
botte [bɔt]
socque [sɔk]
=
=
=
=
ม็ทร์
ม็
บ็อต
ซ็อก
10.2 ในคำที่มีเสียงสระนาสิก (voyelles nasales) ɛ̃ และ ɑ̃ เช่น
vin [vɛ̃]
vent [vɑ̃]
=
=
ว็
ว็อง
ยกเว้นเสียง œ̃ และ ɔ̃ เนื่องจากข้อจำกัดในการพิมพ์ เช่น
brun [bʀœ̃]
mon [mɔ̃]
=
=
เบริง
มง

11. การเขียนคำทับศัพท์ชื่อเฉพาะ มีหลักเกณฑ์ดังนี้

11.1 คำทับศัพท์ที่เป็นชื่อและนามสกุล ให้เขียนตามการเขียนในภาษาฝรั่งเศส เช่น
Jacques Chirac [ʒak ʃiʀak]
Nicolas Sarkozy [nikɔla saʀkɔzi]
Antoine de Lavoisier [ɑ̃twan də lavwazje]
Guy de Maupassant [ɡi də mopasɑ̃]
Jean de la Fontaine [ʒɑ̃ də la fɔ̃tɛn]
Jean-Pierre Raffarin [ʒɑ̃ pjɛʀ ʀafaʀɛ̃]
=
=
=
=
=
=
ฌัก ชีรัก
นีกอลา ซาร์กอซี
อ็องตวน เดอ ลาวัวซีเย
กี เดอ โมปาซ็อง
ฌ็อง เดอ ลา ฟงแตน
ฌ็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็ง, ฌ็อง-เปียร์ ราฟาแร็ง
11.2 คำทับศัพท์ที่เป็นคำนำหน้านามหรือตำแหน่งที่ตามด้วยชื่อ ให้เขียนทับศัพท์ติดกัน แต่ถ้าตามด้วยนามสกุล ให้เขียนทับศัพท์แยกกัน เช่น
Comte de Paris [kɔ̃t də paʀi]
Baron de Coubertin [baʀɔ̃ də kubɛʀtɛ̃]
=
=
กงต์เดอปารี ("เคานต์แห่งปารีส")
บารง เดอ กูแบร์แต็ง ("ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ขุนนางชั้นบารอน")
11.3 คำทับศัพท์ที่เป็นชื่อเฉพาะหรือสำนวน ให้เขียนติดกัน เช่น
Le Havre [ləˈavʀ]
La vache qui rit [lavaʃkiʀi]
L’appétit vient en mangeant. [la.pe.ti.vjɛ̃.tɑ̃.mɑ̃.ʒɑ̃]
=
=
=
เลออาฟวร์ (เมือง)
ลาวัชกีรี (ยี่ห้อเนยแข็ง)
ลาเปตีวีแย็งต็องม็องฌ็อง, ลาเปตีเวียงต็องม็องฌ็อง (สำนวน)
11.4 คำที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ (-) ให้ใส่เครื่องหมายยัติภังค์ตามการเขียนในภาษาฝรั่งเศส เช่น
la Croix-Rouge [la kʀwa ʀuʒ]
Saint-Julien-Chapteuil [sɛ̃ ʒyljɛ̃ ʃaptœj]
Pont-Saint-Martin [pɔ̃ sɛ̃ maʀtɛ̃]
va-et-vient [va.e.vjɛ̃]
=
=
=
=
ลาครัว-รูฌ
แซ็ง-ฌูว์ลีแย็ง-ชัปเตย, แซ็ง-ฌูว์เลียง-ชัปเตย
ปง-แซ็ง-มาร์แต็ง
วา-เอ-วีแย็ง, วา-เอ-เวียง
ยกเว้นคำที่มีเครื่องหมายยัติภังค์พร้อมกับมีการเชื่อมเสียง ให้เขียนติดกัน เช่น
L’Académie des Beaux-Arts [la.ka.de.mi.de.bo.zaʀ]
Champs-Élysées [ʃɑ̃.ze.li.ze]
Saint-Honoré [sɛ̃..nɔ.ʀe]
=
=
=
ลากาเดมีเดโบซาร์
ช็องเซลีเซ
แซ็งตอนอเร

12. คำย่อ ให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ เป็นภาษาไทย ดังนี้

A
D
G
J
M
P
S
V
Y
=
=
=
=
=
=
=
=
=
อา
เด
เฌ
ฌี
แอม
เป
แอ็ส
เว
อีแกร็ก
B
E
H
K
N
Q
T
W
Z
=
=
=
=
=
=
=
=
=
เบ
เออ
อัช
กา
แอน
กูว์
เต
ดูเบลอเว
แซด
C
F
I
L
O
R
U
X

=
=
=
=
=
=
=
=

เซ
แอ็ฟ
อี
แอล
โอ
แอร์
อูว์
อิกซ์

13. รูปพยัญชนะ h มี 2 ประเภทคือ h muet และ h aspiré ซึ่งจะไม่ออกเสียงทั้งคู่

หากเป็นคำที่นำหน้าด้วย h muet ให้เชื่อมเสียงพยัญชนะหรือพยัญชนะท้ายคำที่นำหน้า h muet กับเสียงสระที่ตามมา เช่น
l’hôtel [.tɛl]
cet hiver [sɛ.ti.vɛʀ]
=
=
ลอแตล
แซตีแวร์
หากเป็นคำที่นำหน้าด้วย h aspiré ไม่ต้องเชื่อมเสียง ซึ่งในพจนานุกรมการออกเสียงจะใช้เครื่องหมาย [ˈ] นำหน้า เช่น
le haricot [ləˈaʀiko]
ces hauteurs [seˈotœʀ]
=
=
อ อารีโก
เซ โอเตอร์

14. การเชื่อมเสียง ในการทับศัพท์กลุ่มคำภาษาฝรั่งเศสจะมีการเชื่อมเสียง กล่าวคือ เชื่อมเสียงพยัญชนะท้ายคำกับสระซึ่งเป็นเสียงต้นของคำที่ตามมา หรือ h muet เช่น

une école [y.ne.kɔl]
les hommes [le.m]
=
=
อูว์เนกอล
เลซอ
14.1 ในการทับศัพท์ต้องแสดงการเชื่อมเสียงนั้นโดยใช้พยัญชนะท้ายคำของพยางค์แรกประสมกับสระต้นคำที่ตามมา การเชื่อมเสียงในภาษาฝรั่งเศสให้เชื่อมเสียงในกรณีต่อไปนี้
- ระหว่างคำนำหน้านามหรือคำขยายที่อยู่หน้าคำนามกับคำนาม เช่น
des élèves [de.ze.lɛv]
un ancien ami [œ̃.nɑ̃.sjɛ.na.mi]
gentil enfant [ʒɑ̃.ti.jɑ̃.fɑ̃]
votre âge [vɔ.tʀɑʒ]
=
=
=
=
เดเซแลฟว์
เอิงน็องซีแยนามี, เอิงน็องเซียนามี
ฌ็องตีย็องฟ็อง
วอทรา
- ระหว่างคำสรรพนามที่อยู่หน้าคำกริยากับคำกริยา เช่น
Je vous aime [ʒə.vu.m]
Vous avez [vu.za.ve]
Il habite [i.la.bit]
=
=
=
เฌอวูแซ
วูซาเว
อีลาบิต
- ในกลุ่มคำที่ต้องเชื่อมเสียง (les groupes figés) เช่น
de temps en temps [də.tɑ̃.zɑ̃.tɑ̃]
mot à mot [mo.ta.mo]
bien entendu [bjɛ̃.nɑ̃.tɑ̃.dy]
=
=
=
เดอต็องซ็องต็อง
โมตาโม
บีแย็งน็องต็องดูว์, เบียงน็องต็องดูว์
14.2 การเชื่อมเสียงจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเสียงที่สำคัญ ดังนี้
- รูปพยัญชนะ s และ x ซึ่งปรกติไม่ออกเสียง จะออกเสียง z เช่น
les années [le.za.ne]
deux heures [dœ.zœʀ]
=
=
เลาเน
เดอเอร์
- รูปพยัญชนะ d ซึ่งปรกติไม่ออกเสียง จะออกเสียง t เช่น
pied-à-terre [pje.ta.tɛʀ]
grand immeuble [gʀɑ̃.ti.mœbl]
=
=
ปีเยาแตร์
กร็องตีเมิบล์
14.3 ไม่เชื่อมเสียงในกรณีต่อไปนี้
- หน้าคำที่ขึ้นต้นด้วย h aspiré เช่น
les héros [leˈeʀo] = เล เอโร (ไม่ใช่ *[le.ze.ʀo] = เลเซโร)
- หลัง et เช่น
mon frère et une amie [mɔ̃.fʀɛ.ʀe.y.na.mi] = มงแฟรเรอูว์นามี (ไม่ใช่ *[mɔ̃.fʀɛ.ʀe.ty.na.mi] = มงแฟรเรตูว์นามี)
- หลังคำนามเอกพจน์ เช่น
un étudiant anglais [œ̃.ne.ty.djɑ̃.ɑ̃.glɛ] = เอิงเนตูว์ดีย็องอ็องแกล (ไม่ใช่ *[œ̃.ne.ty.djɑ̃.tɑ̃.glɛ] = เอิงเนตูว์ดีย็องต็องแกล)

ตารางเทียบเสียง

แก้

เสียงพยัญชนะ

แก้
เสียง อักษรไทย รูปเขียน[# 1] ตัวอย่าง คำทับศัพท์
p
 p  ป  p-  par [paʀ]  าร์
 -p-  spécial [spesjal]  สเซียาล
 splendide [splɑ̃did]  สล็องดีด
 -pp-  support [sypɔʀ]  ซูว์อร์
 -pe  pipe [pip]  ปิ
 -b- (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  absence [apsɑ̃s]  อัซ็องส์
 subtilité [syptilite]  ซุตีลีเต
 p (เมื่อมีเสียง ʀ ตามมา)  พ  pr-  prénom [enɔ̃]  เพรนง
 prune [yn]  พรู
 -pr-  esprit [ɛsi]  แอ็สพรี
b
 b  บ  b-  bon [bɔ̃]  
 -b- (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  objet bʒɛ]  ออแฌ
 subversif [sybvɛʀsif]  ซูแวร์ซิฟ
 -bb-  abbaye [abei]  อาเอี
 -be  robe [ʀɔb]  รอ
t
 t  ต  t-  ton [tɔ̃]  
 -t-  partie [paʀti]  ปาร์ตี
 stable [stabl]  สาบล์
 -tt-  attendre [atɑ̃dʀ]  อาต็องดร์
 -te  vite [vit]  วิ
 th-  théâtre [teɑtʀ]  เอัทร์
 -th-, -the  batholithe [batɔlit]  บาอลิ
 -d- (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  adsorber [atsɔʀbe]  อัซอร์เบ
 t (เมื่อมีเสียง ʀ ตามมา)  ท  tr-  train [ɛ̃]  แทร็
 -tr-  entrée [ɑ̃e]  อ็องเทร
 structure [syktyʀ]  สทรุกตูร์
d
 d  ด  d-  dans [dɑ̃]  ด็อง
 -d- (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  budget [bydʒɛ]  บูแฌ
 admission [admisjɔ̃]  อามีซียง
 -dd-  addition [adisjɔ̃]  อาดีซียง
 -de  mode [mɔd]  มอ
k
 k  ก  c-  café [kafe]  าเฟ
 k-  kiosque [kjɔsk]  กีย็อสก์
 qu-  quai [ke]  เ
 -k-  sk[ski]  สกี
 -cc- (หน้า a, o หรือ u)  occase kaz]  ออาซ
 -ck-  nickel [nikɛl]  นีแ
 -cqu-  jacquard [ʒakaʀ]  ฌาาร์
 -c  sac [sak]  ซั
 -ck  bifteck [biftɛk]  บิฟแต็
 -que  graphique [gʀafik]  กราฟิ
 k (เมื่อมีเสียง ʀ ตามมา)  ค  cr-  créer [ee]  เครเอ
 cr[i]  ครี
 -cr-  scrutin [sytɛ̃]  สครูว์แต็ง
 scrupule [sypyl]  สครูว์ปูล
 ks  ซ  x-  xylophone [ksilɔfɔn]  ซีลอฟอน
 กซ  -x-  boxeur [bɔksœʀ]  บ็ออร์
 -cc- (หน้า e, i หรือ y)  accent [aksɑ̃]  อักซ็อง
 -xc- (หน้า e หรือ i)  excès ksɛ]  แอ็
 ks (เมื่ออยู่ท้ายคำ)  กซ์  -xe  fixe [fiks]  ฟิกซ์
ɡ
 ɡ  ก  g-  gare [ɡaʀ]  าร์
 goût [ɡu]  กู
 gu- (หน้า e, i หรือ y)  guerre [ɡɛʀ]  แร์
 -gue  vague [vaɡ]  วา
 ɡz  ซ  x-  Xavier [ɡzavje]  าวีเย
 กซ  -x-  examen ɡzamɛ̃]  แอกซาแม็ง
f
 f  ฟ  f-  fille [fij]  ฟีย์
 -ff-  effet [efɛ]  เอแ
 ph-  photo [fɔto]  อโต
 -f  vif [vif]  วิ
 bœuf [bœf]  เบิ
v
 v (ในตำแหน่งพยัญชนะต้น)  ว  v-  voiture [vwatyʀ]  วัวตูร์
 w-  wagon [vaɡɔ̃]  ากง
 -v-  mauvais [mɔvɛ, movɛ]  มอแ, โมแ
 v (ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด)  ฟว์  -ve  bave [bav]  บาฟว์
 vive [viv]  วีฟว์
 sauvetage [sov(ə)taʒ]  โซฟว์ตาฌ
  (ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด)  ฟวร์  -vre  vivre [vi]  วีฟวร์
s
 s (ในตำแหน่งพยัญชนะต้น)  ซ  c-  cinéma [sinema]  ซีเนมา
 ç-  ç[sa]  
 -ç-  leçon [l(ə)sɔ̃]  เลอ
 s-, -s-  sensation [sɑ̃sasjɔ̃]  ซ็องาซียง
 -ss-  passage [pɑsaʒ]  ปาาฌ
 -t-  démocratie [demɔkʀasi]  เดมอคราซี
 nuptial [nypsjal]  นุปซียาล
 s (ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด)  ส  -ce  Beauce [bos]  โบ
 -ss-  ross[ʀɔs]  ร็อ
 -x  dix [dis]  ดิ
z
 z  ซ  z-  zéro [zeʀo]  เโร
 -x-  deux amis [døzami]  เดอามี
 -se  rose [ʀoz]  โร
 -ze  treize [tʀɛz]  แทร
ʃ
 ʃ  ช  ch-  cher [ʃɛʀ]  ชร์
 chocolat [ʃɔkɔla]  อกอลา
 -che  poche [pɔʃ]  ป็อ
 miche [miʃ]  มิ
ʒ
 ʒ  ฌ  j-  joue [ʒu]  ฌู
 joufflu [ʒufly]  ฌูฟลูว์
 g-  géant [ʒeɑ̃]  เอ็อง
 gigot [ʒiɡo]  ฌีโก
 -ge  rouge [ʀuʒ]  รู
ʀ[# 2]
ʀ  ร  r-  riz [ʀi]  รี
 -rr-  derrière [dɛʀjɛʀ]  แดรีแยร์, แดเรียร์
 -re  sonore [sɔnɔʀ]  ซอนอร์
 -rre  terre [tɛʀ]  แตร์
 rh-  rhume [ʀym]  รู
l
 l  ล  l-  lit [li]  ลี
 -l  nasal [nazal]  นาซา
 -ll-  bell[bɛl]  แบ
 village [vilaʒ]  วีาฌ
 -le  mobile [mɔbil]  มอบี
m
 m  ม  m-  mettre [mɛtʀ]  แม็ทร์
 -mm-  emmêler [ɑ̃mele]  อ็องเเล
 -me  idiome [idjom]  อีดีโย
n
 n  น  n-  notre [nɔtʀ]  น็อทร์
 -nn-  année [ane]  อาเ
 -ne  cuisine [kɥizin]  กุยซี
 -mne  automne [otɔn, ɔtɔn]  โอตอ, ออตอ
ɲ
 ɲ  ญ  -gn-  mignon [miɲɔ̃]  มี
 -gne  signe [siɲ]  ซี
หมายเหตุ
  1. รูปพยัญชนะที่อยู่หน้าเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะต้นหรือมีพยัญชนะอื่นตามมาอีก รูปพยัญชนะที่อยู่หลังเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด
  2. ตำราด้านสัทศาสตร์หรือพจนานุกรมการออกเสียงบางแห่งอาจใช้สัญลักษณ์ ʁ หรือ r

เสียงกึ่งสระ

แก้
เสียง อักษรไทย รูปเขียน[# 1] ตัวอย่าง คำทับศัพท์
j
 j  ย  -il  travail [tʀavaj]  ทราวา
 accueil [akœj]  อาเก
 œil j]  เอ
 conseil [kɔ̃sɛj]  กงแซย์[# 2]
 -lle  grille [ɡʀij]  กรีย์
 oreille [ɔʀɛj]  ออแรย์
 -lle-  bille[bije]  บีเ
 -ier  crier [kʀije]  ครีเ
 -y-  payer [peje]  เปเ
 j (เมื่ออยู่ต้นคำ) + เสียงสระ  อี + ย + เสียงสระ  ion  ion [jɔ̃]  อียง
 yo-  Yonne [n]  อียอ
 yeu-  yeu[]  อีเยอ
 เสียงพยัญชนะ + j + เสียงสระ  เสียงพยัญชนะ + –ี + ย + เสียงสระ  -ie-  pie[pje]  ปีเย
 -ien-  patien[pasjɑ̃]  ปาซีย็อง
 -ia  Bastia [bastja]  บัสตียา
 -ia  socia[sɔsjal]  ซอซียา
 -iau  matériau [mateʀjo]  มาเตรีโย
 -ion  invention [ɛ̃vɑ̃sjɔ̃]  แอ็งว็องซียง
   –ีแย็–, –ีแย–; เ–ีย  -ie-  cie[sl]  ซีแยล, เซีย
 -iè-  scle [skl]  ซีแย็กล์, เซียกล์
 jɛ̃  –ีแย็ง, เ–ียง  -ie-  mie[mjɛ̃]  มีแย็ง, เมียง
w
 w (ในตำแหน่งต้นพยางค์)  ว  ou-  ou[wi]  วี
 ouate [wat]  วั
 ouest [wɛst]  แว็สต์
 w-[# 3]  whisky [wiski]  วิสกี
 wa (เมื่อไม่มีพยัญชนะต้นนำและไม่มีตัวสะกด)  อัว  oi-  oiseau [wazo]  อัวโซ
 wa (เมื่อมีพยัญชนะต้นนำ)  –ัว  -oi  moi [mwa]  มัว
 -oi-  patoi[patwa]  ปาตัว
 -oî-  Ben[bənwa]  เบอนัว
 พยัญชนะต้น + wa + ตัวสะกด  –ว–  -oi-  moine [mwan]  ม
 -oî-  bte [bwat]  บ
  (เมื่อมีพยัญชนะต้นนำ)  –ัว  -oi-  froi[fʀ]  ฟรัว
 -oî-  cr[kʀ]  ครัว
 พยัญชนะต้น +  + ตัวสะกด  –ว–  -oî-  crtre [kʀtʀ]  ครทร์
 wɛ̃  –วง  -oin  loin [lwɛ̃]  ลวง
 wi  –ูย  -oui  enfoui [ɑ̃fwi]  อ็องฟูย
 -oui-  fouine [fwin]  ฟูยน์
   –ูแอ็, –ูแอ  -oue-  mouette [mt]  มูแอ็
 rouelle l]  รูแอ
 we  –ูเอ  -oue-  loue[lwe]  ลูเอ
ɥ
 ɥ (+ เสียงสระ)  –ุ  -u-  conduire [kɔ̃dɥiʀ]  กงดุอีร์
 nuage [nɥaʒ]  นุอาฌ
 muet [mɥɛ]  มุแอ
 muette [mɥɛt]  มุแอ็ต
 suisse [sɥis]  ซุอิส
 ɥi (เมื่อเป็นพยางค์เปิด)  –ุย  -ui  lui [lɥi]  ลุย
 -ui-  huissier [ɥisje]  อุยซีเย
หมายเหตุ
  1. รูปพยัญชนะที่อยู่หน้าเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะต้นหรือมีพยัญชนะอื่นตามมาอีก รูปพยัญชนะที่อยู่หลังเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด
  2. ในการทับศัพท์เสียงกึ่งสระ j ซึ่งกำหนดให้ใช้ ย เมื่อตามด้วยสระบางเสียง เช่น เสียง ɛ หรือ i ไม่สามารถออกเสียงตามระบบเสียงภาษาไทยได้ จึงให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับบนตัว ย
  3. w ในตำแหน่งพยัญชนะต้นที่ออกเสียง w ส่วนใหญ่เป็นคำยืมมาจากภาษาอังกฤษ

เสียงสระ

แก้
เสียง อักษรไทย รูปเขียน[# 1] ตัวอย่าง คำทับศัพท์
i
 i (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ิ  -y-  cycle [sikl]  ซิกล์
 -i-  sli[slip]  สลิ
 mite [mit]  มิ
 pi[pik]  ปิ
 vi[vif]  วิ
 vice [vis]  วิ
 riche iʃ]  ริ
 registre [ʀəʒistʀ]  เรอฌิสทร์
 -ï-  naï[naif]  นาอิ
 i (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –ี  i-  i[il]  อี
 î-  île [il]  อี
 -i-  li[li]  ลี
 régime [ʀeʒim]  เรฌี
 vigne [viɲ]  วี
 Candide [kɑ̃did]  ก็องดี
 vive [viv]  วีฟว์
 litige [litiʒ]  ลีตี
y
 y (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ุ  -u-  papyru[papiʀys]  ปาปีรุ
 chute yt]  ชุ
 y (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  –ู  -u-  budget [bydʒɛ]  บูดแฌ
 su[syʀ]  ซูร์
 y (เมื่อเป็นพยางค์เปิด)  –ูว์  -u  perdu [pɛʀdy]  แปร์ดูว์
 -û  dû [dy]  ดูว์
 -u-  humide [ymid]  อูว์มีด
e
 e  เ–  -aî-  déchné [deʃene]  เดชเน
 -é  beauté [bote]  โบเต
 -e-  chante[ʃɑ̃te]  ช็อง
 cle[kle]  กล
 dessin [desɛ̃]  ดแซ็ง
ɛ
 ɛ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  แ–็  -aî-  lche [lɛʃ]  แล็
 -e-  sceptique [sɛptik]  แซ็ปติก
 messe [mɛs]  แม็
 ê-  être [ɛtʀ]  แอ็ทร์
 -è-  sèche [sɛʃ]  แซ็
 ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  ai-  aide [ɛd]  อด
 -ai-  crai[kʀɛ]  คร
 faire [fɛʀ]  ฟร์
 -aî-  trne [tʀɛn]  ทรน
 e-  elle [ɛl]  อล
 -e-  citoyenne [sitwajɛn]  ซีตัวยน
 -è-  père [pɛʀ]  ปร์
 -ê-  arrê[aʀɛ]  อา
 fêve [fɛv]  ฟฟว์
 -ë-  noë[nɔɛl]  นออล
 Joë[ʒoɛl]  โฌอล
 -ei-  seigle [sɛɡl]  ซกล์
 seize [sɛz]  ซซ
 neige [nɛʒ]  นฌ
ø
 ø  เ–อ  -eu  feu [fø]  
 -eu-  Meuse [møz]  เมิ
 feutre [føtʀ]  เฟิทร์
 deuxième [døzjɛm]  ซีแยม, เซียม
 -eû-  jne øn]  เฌิ
 -œu  vœu [vø]  
œ
 œ  เ–อ  -eu-  heure [œʀ]  ร์
 œu-  œu[œf]  เอิ
 -ue  accueil [akœj]  อากย
a
 a (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ั  -a-  nappe [nap]  นั
 patte [pat]  ปั
 sa[sak]  ซั
 a (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  -a-  chaa]  ช
 campagne [kɑ̃paɲ]  ก็องป
 cana[kanal]  ก
 départ [depaʀ]  เดปร์
 baoba[baɔbab]  บออบ
 cascade [kaskad]  กัสก
 -e-  prudemment [pʀydamɑ̃]  พรูว์ดม็อง
 solennel [sɔlanɛl]  ซอลแนล
 femme [fam]  ฟ
 -ea-  Jeanne an]  ฌ
ɑ
 ɑ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ั  -â-  pâte [pɑt]  ปั
 ɑ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  -a-  ca[kɑ]  ก
 -â-  hâler [ɑle]  อเล
o
 o  โ–  -eau  beau [bo]  
 -eau-  Beauce [bos]  บส
 -au-  hau[o]  
 haute [ot]  อต
 -au  matériau [mateʀjo]  มาเตรี
 -o  do [do]  
 -o-  do[do]  
 rose oz]  รซ
 -ô-  côte [kot]  กต
ɔ
 ɔ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –็อ  o-  opter [ɔpte]  อ็อปเต
 -o-  botte [bɔt]  บ็อ
 socque [sɔk]  ซ็อ
 ɔ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –อ  -o-  donne [dɔn]  ด
 -u-  foru[fɔʀɔm]  ฟอร
u
 u (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ุ  -ou-  route ut]  รุ
 u (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –ู  -où   [u]  อู
 -oû-  gu]  กู
 -aou-  saou[su]  ซู
 -ou-  rouge uʒ]  รู
ə
 ə  เ–อ  -e  le [lə]  เล
 -e-  reprendre [ʀ(ə)pʀɑ̃dʀ][# 2]  พร็องดร์
 levée [l(ə)ve]  เว
 règlementer [ʀɛɡləmɑ̃te]  แรกลม็องเต
 parlement [paʀləmɑ̃]  ปาร์ม็อง
 -on-  monsieur [məsjø]  ซีเยอ
ɛ̃
 ɛ̃  แ–็ง  -in  vin [vɛ̃]  แว็ง
 -im-  timbre [tɛ̃bʀ]  แต็งบร์
 -yn-  syndicat [sɛ̃dika]  แซ็งดีกา
 -ym-  sympathie [sɛ̃pati]  แซ็งปาตี
 -ein  plein [plɛ̃]  แปล็ง
 -eim-  Reimɛ̃s]  แร็งส์
 -ain  main [mɛ̃]  แม็ง
 -aim  faim [fɛ̃]  แฟ็ง
 -en  moyen [mwajɛ̃]  มัวแย็ง
 européen [øʀɔpeɛ̃]  เออรอเปแอ็ง
œ̃
 œ̃[# 3]  เ–ิง  -un  brun [bʀœ̃]  ริง
 -um  parfum [paʀfœ̃]  ปาร์เฟิง
ɑ̃
 ɑ̃  –็อง  -en-  ven[vɑ̃]  ว็อง
 clien[klijɑ̃]  กลีย็อง
 patien[pasjɑ̃]  ปาซีย็อง
 -em-  membre [mɑ̃bʀ]  ม็องบร์
 -an-  san[sɑ̃]  ซ็อง
 -am-  chambre ɑ̃bʀ]  ช็องบร์
 -an  Perpignan [pɛʀpiɲɑ̃]  แปร์ปีญ็อง
 -aen  Caen [kɑ̃]  ก็อง
 -aon  Laon [lɑ̃]  ล็อง
ɔ̃
 ɔ̃  –ง  -on  mon [mɔ̃]  มง
 om-  ombre [ɔ̃bʀ]  องบร์
 -om  nom [nɔ̃]  นง
หมายเหตุ
  1. รูปพยัญชนะที่อยู่หน้าเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะต้นหรือมีพยัญชนะอื่นตามมาอีก รูปพยัญชนะที่อยู่หลังเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด
  2. เสียง ə ในวงเล็บยังคงออกเสียงแต่ออกเสียงเพียงเล็กน้อย ในกรณีที่อยู่ในพยางค์แรกให้ทับศัพท์เป็น เ–อ เช่น dessus [d(ə)sy] = ซูว์ ในกรณีที่อยู่ในพยางค์กลางคำหรือท้ายคำไม่ต้องทับศัพท์ เช่น déje[deʒ(ə)te] = เดฌเต
  3. ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าคนฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะออกเสียงเป็น ɛ̃ = แ–็ง

ตารางเทียบรูปเขียน

แก้

รูปพยัญชนะ

แก้
รูปเขียน[# 1] เสียง อักษรไทย ตัวอย่าง คำทับศัพท์
B
 b-  b  บ  bon [bɔ̃]  
 -bb-  b  บ  abbaye [abei]  อาเอี
 -b-  p (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  ป  absence [apsɑ̃s]  อัซ็องส์
 subtilité [syptilite]  ซุตีลีเต
 b (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  บ  objet bʒɛ]  ออแฌ
 subversif [sybvɛʀsif]  ซูแวร์ซิฟ
 -be  b  บ  rob[ʀɔb]  รอ
C
 c-  k  ก  café [kafe]  าเฟ
 s  ซ  cinéma [sinema]  ซีเนมา
 -c  k  ก  sac [sak]  ซั
 ç-  s  ซ  ç[sa]  
 -ç-  s  ซ  leçon [l(ə)sɔ̃]  เลอ
 -cc- (หน้า a, o หรือ u)  k  ก  occase kaz]  ออาซ
 -cc- (หน้า e, i หรือ y)  ks  กซ  accent [aksɑ̃]  อักซ็อง
 -ce  s  ส  Beauce [bos]  โบ
 absence [apsɑ̃s]  อัปซ็องส์
 ch-  ʃ  ช  chocolat [ʃɔkɔla]  อกอลา
 chic [ʃik]  ชิ
 -che  ʃ  ช  poche [pɔʃ]  ป็อ
 miche [miʃ]  มิ
 -ck  k  ก  bifteck [biftɛk]  บิฟแต็
 -ck-  k  ก  nickel [nikɛl]  นีแ
 -cqu-  k  ก  jacquard [ʒakaʀ]  ฌาาร์
 cr-    คร  créer [ee]  เครเอ
 cr[i]  ครี
 -cr-    คร  scrutin [sytɛ̃]  สครูว์แต็ง
 scrupule [sypyl]  สครูว์ปูล
D
 d-  d  ด  dans [dɑ̃]  ด็อง
 -dd-  d  ด  addition [adisjɔ̃]  อาดีซียง
 -d-  t (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  ต  adsorber [atsɔʀbe]  อัซอร์เบ
 d (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  ด  budget [bydʒɛ]  บูแฌ
 admission [admisjɔ̃]  อามีซียง
 -de  d  ด  mod[mɔd]  มอ
F
 f-  f  ฟ  fille [fij]  ฟีย์
 -ff-  f  ฟ  effet [efɛ]  เอแ
 -f  f  ฟ  bœuf [bœf]  เบิ
 vif [vif]  วิ
G
 g-  ɡ  ก  gare [ɡaʀ]  าร์
 goût [ɡu]  กู
 ʒ  ฌ  géant [ʒeɑ̃]  เอ็อง
 gigot [ʒiɡo]  ฌีโก
 -ge  ʒ  ฌ  rouge [ʀuʒ]  รู
 -gn-  ɲ  ญ  mignon [miɲɔ̃]  มี
 -gne  ɲ  ญ  signe [siɲ]  ซี
 gu- (หน้า e, i หรือ y)  ɡ  ก  guerre [ɡɛʀ]  แร์
 -gue  ɡ  ก  vague [vaɡ]  วา
J
 j-  ʒ  ฌ  joue [ʒu]  ฌู
 joufflu [ʒufly]  ฌูฟลูว์
K
 k-  k  ก  kiosque [kjɔsk]  กีย็อสก์
 -k-  k  ก  sk[ski]  สกี
 kr-    คร  Krivine [ivin]  ครีวีน
 krypton [iptɔ̃]  คริปตง
L
 l-  l  ล  lit [li]  ลี
 -l  l  ล  nasal [nazal]  นาซา
 -le  l  ล  mobile [mɔbil]  มอบี
 -ll-  l  ล  bell[bɛl]  แบ
 village [vilaʒ]  วีาฌ
M
 m-  m  ม  mettre [mɛtʀ]  แม็ทร์
 -me  m  ม  idiome [idjom]  อีดีโย
 -mm-  m  ม  emmêler [ɑ̃mele]  อ็องเเล
 -mne  n  น  automne [otɔn, ɔtɔn]  โอตอ, ออตอ
N
 n-  n  น  notre [nɔtʀ]  น็อทร์
 -ne  n  น  cuisine [kɥizin]  กุยซี
 -nn-  n  น  année [ane]  อาเ
P
 p-  p  ป  par [paʀ]  าร์
 -p-  p  ป  spécial [spesjal]  สเซียาล
 splendide [splɑ̃did]  สล็องดีด
 -pe  p  ป  pipe [pip]  ปิ
 ph-  f  ฟ  photo [fɔto]  อโต
 pr-    พร  prénom [enɔ̃]  เพรนง
 prune [yn]  พรู
 -pr-    พร  esprit [ɛsi]  แอ็สพรี
 -pp-  p  ป  support [sypɔʀ]  ซูว์อร์
Q
 qu-  k  ก  quai [ke]  เ
 -que  k  ก  graphique [gʀafik]  กราฟิ
R
 r-  ʀ[# 2]  ร  riz [ʀi]  รี
 -re  ʀ  ร์  sonore [sɔnɔʀ]  ซอนอร์
 rh-  ʀ  ร  rhume [ʀym]  รู
 -rr-  ʀ  ร  derrière [dɛʀjɛʀ]  แดรีแยร์, แดเรียร์
 -rre  ʀ  ร์  terre [tɛʀ]  แตร์
S
 s-, -s-  s  ซ  sensation [sɑ̃sasjɔ̃]  ซ็องาซียง
 -ss-  s  ซ  passage [pɑsaʒ]  ปาาฌ
 -se  z  ซ  rose [ʀoz]  โร
 -ss-  s  ส  ross[ʀɔs]  ร็อ
T
 t-  t  ต  ton [tɔ̃]  
 -t-  t  ต  question [kɛstjɔ̃]  แก็สตียง
 stylo [stilo]  สตีโล
 s  ซ  minutieux [minysjø]  มีนูว์ซีเยอ
 protection [pʀɔtɛksjɔ̃]  พรอแต็กซียง
 -te  t  ต  vite [vit]  วิ
 th-  t  ต  théâtre [teɑtʀ]  เอัทร์
 -th-, -the  t  ต  batholithe [batɔlit]  บาอลิ
 tr-    ทร  train [ɛ̃]  แทร็
 -tr-    ทร  entrée [ɑ̃e]  อ็องเทร
 structure [syktyʀ]  สทรุกตูร์
 -tt-  t  ต  attendre [atɑ̃dʀ]  อาต็องดร์
V
 v-  v  ว  voiture [vwatyʀ]  วัวตูร์
 -v-  v  ว  mauvais [mɔvɛ, movɛ]  มอแ, โมแ
 -ve  v  ฟว์  bave [bav]  บาฟว์
 vive [viv]  วีฟว์
 sauvetage [sov(ə)taʒ]  โซฟว์ตาฌ
 -vre    ฟวร์  vivre [vi]  วีฟวร์
W
 w-  v  ว  wagon [vaɡɔ̃]  ากง
X
 x-  ks  ซ  xylophone [ksilɔfɔn]  ซีลอฟอน
 ɡz  ซ  Xavier [ɡzavje]  าวีเย
 -x[# 3]  s  ส  dix [dis]  ดิ
 -x-  ks  กซ  boxeur [bɔksœʀ]  บ็ออร์
 ɡz  กซ  examen ɡzamɛ̃]  แอกซาแม็ง
 -x-  z  ซ  deux amis [døzami]  เดอามี
 -xc- (หน้า e หรือ i)  ks  กซ  excès ksɛ]  แอ็
 -xe  ks  กซ์  fixe [fiks]  ฟิกซ์
Z
 z-  z  ซ  zéro [zeʀo]  เโร
 -ze  z  ซ  treize [tʀɛz]  แทร
หมายเหตุ
  1. รูปพยัญชนะที่อยู่หน้าเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะต้นหรือมีพยัญชนะอื่นตามมาอีก รูปพยัญชนะที่อยู่หลังเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด
  2. ตำราด้านสัทศาสตร์หรือพจนานุกรมการออกเสียงบางแห่งอาจใช้สัญลักษณ์ ʁ หรือ r
  3. โดยปรกติ x เมื่ออยู่ท้ายคำจะไม่ออกเสียง ยกเว้นในบางคำหรือเมื่อมีการเชื่อมเสียงกับสระของคำที่ตามมา

รูปของเสียงกึ่งสระ

แก้
รูปเขียน[# 1] เสียง อักษรไทย ตัวอย่าง คำทับศัพท์
I
 ion (เมื่ออยู่ต้นคำ)  jɔ̃  อียง  ion [jɔ̃]  อียง
 -i + สระ  เสียงพยัญชนะ + j + เสียงสระ  เสียงพยัญชนะ + –ี + ย + เสียงสระ  Bastia [bastja]  บัสตียา
 socia[sɔsjal]  ซอซียา
 matériau [mateʀjo]  มาเตรีโย
 pie[pje]  ปีเย
 patien[pasjɑ̃]  ปาซีย็อง
 fie[fje]  ฟีเย
 invention [ɛ̃vɑ̃sjɔ̃]  แอ็งว็องซียง
 -ie-    –ีแย็–, –ีแย–; เ–ีย  cie[sl]  ซีแยล, เซีย
 -ie-  jɛ̃  –ีแย็ง, เ–ียง  mie[mjɛ̃]  มีแย็ง, เมียง
 -iè-    –ีแย็–, –ีแย–; เ–ีย  scle [skl]  ซีแย็กล์, เซียกล์
 -สระ + il  เสียงสระ +  j  สระ + ย  travail [tʀavaj]  ทราวาย
 orgueil [ɔʀɡœj]  ออร์
 œil [œj]  
 sommeil [sɔmɛj]  ซอย์[# 2]
 -lle  j  ย์  bouteille [butɛj]  บูแตย์
 grille [ɡʀij]  กรีย์
 -lle + พยัญชนะท้าย  je  เย  briller [bʀije]  บรีเย
 billet [bije]  บีเย
O
 oi-  wa  อัว  oiseau [wazo]  อัวโซ
 -oi  wa  –ัว  moi [mwa]  มัว
 -oi-  พยัญชนะต้น + wa  –ัว  patoi[patwa]  ปาตัว
 พยัญชนะต้น + wa + ตัวสะกด  –ว–  moine [mwan]  ม
 พยัญชนะต้น +  –ัว  froi[fʀ]  ฟรัว
 -oî-  พยัญชนะต้น + wa  –ัว  Ben[bənwa]  เบอนัว
 พยัญชนะต้น + wa + ตัวสะกด  –ว–  bte [bwat]  บ
 พยัญชนะต้น +  –ัว  cr[kʀ]  ครัว
 พยัญชนะต้น + + ตัวสะกด  –ว–  crtre [kʀtʀ]  ครทร์
 -oin  wɛ̃  –วง  loin [lwɛ̃]  ลวง
 ou-  w  ว  ou[wi]  วี
 ouate [wat]  วั
 ouest [wɛst]  แว็สต์
 -oue-    –ูแอ็, –ูแอ  mouette [mt]  มูแอ็
 rouelle l]  รูแอ
 we  –ูเอ  loue[lwe]  ลูเอ
 -oui-  wi  –ูย  fouine [fwin]  ฟูยน์
 -oui  wi  –ูย  enfoui [ɑ̃fwi]  อ็องฟูย
U
 -u-  ɥ + เสียงสระ  –ุ  nuage [nɥaʒ]  นุอาฌ
 muet [mɥɛ]  มุแอ
 muette [mɥɛt]  มุแอ็ต
 suite [sɥit]  ซุอิต
 conduire [kɔ̃dɥiʀ]  กงดุอีร์
 -ui  ɥi (เมื่อเป็นพยางค์เปิด)  –ุย  lui [lɥi]  ลุย
 -ui-  ɥi (เมื่อเป็นพยางค์เปิด)  –ุย  huissier [ɥisje]  อุยซีเย
W
 w-[# 3]  w  ว  whisky [wiski]  วิสกี
Y
 -y-  j  ย  payer [peje]  เปเ
 j + เสียงสระ  –ี + ย + เสียงสระ  les yeu[lez]  เลซีเยอ
 yeu- (เมื่ออยู่ต้นคำ)  j + เสียงสระ  อีเยอ  yeu[]  อีเยอ
 yo- (เมื่ออยู่ต้นคำ)  j + เสียงสระ  อี + ย + เสียงสระ  Yonne [n]  อียอ
หมายเหตุ
  1. รูปพยัญชนะที่อยู่หน้าเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะต้นหรือมีพยัญชนะอื่นตามมาอีก รูปพยัญชนะที่อยู่หลังเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด
  2. ในการทับศัพท์เสียงกึ่งสระ j ซึ่งกำหนดให้ใช้ ย เมื่อตามด้วยสระบางเสียง เช่น เสียง ɛ หรือ i ไม่สามารถออกเสียงตามระบบเสียงภาษาไทยได้ จึงให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับบนตัว ย
  3. w ในตำแหน่งพยัญชนะต้นที่ออกเสียง w ส่วนใหญ่เป็นคำยืมมาจากภาษาอังกฤษ

รูปสระ

แก้
รูปเขียน[# 1] เสียง อักษรไทย ตัวอย่าง คำทับศัพท์
A
 -a-  a (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ั  nappe [nap]  นั
 patte [pat]  ปั
 Armagna[aʀmaɲak]  อาร์มาญั
 a (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  chaa]  ช
 campagne [kɑ̃paɲ]  ก็องป
 cana[kanal]  ก
 départ [depaʀ]  เดปร์
 baoba[baɔbab]  บออบ
 cascade [kaskad]  กัสก
 ɑ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  ca[kɑ]  ก
 -â-  ɑ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ั  pâte [pɑt]  ปั
 ɑ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  hâler [ɑle]  าเล
 -aen  ɑ̃  –็อง  Caen [kɑ̃]  ก็อง
 ai-, -ai-  ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  aide [ɛd]  อด
 mai[mɛ]  
 faible [fɛbl]  ฟบล์
 -aî-  e  เ–  déchné [deʃene]  เดชเน
 frchir [fʀeʃiʀ]  ฟรชีร์
 ɛ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  แ–็  lche [lɛʃ]  แล็
 ntre [nɛtʀ]  แน็ทร์
 ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  conn[kɔnɛ]  กอ
 trne [tʀɛn]  ทรน
 -aim  ɛ̃  แ–็ง  faim [fɛ̃]  แฟ็ง
 -ain  ɛ̃  แ–็ง  main [mɛ̃]  แม็ง
 -am-  ɑ̃  –็อง  chambre ɑ̃bʀ]  ช็องบร์
 -an  ɑ̃  –็อง  Perpignan [pɛʀpiɲɑ̃]  แปร์ปีญ็อง
 -an-  ɑ̃  –็อง  san[sɑ̃]  ซ็อง
 -aon  ɑ̃  –็อง  Laon [lɑ̃]  ล็อง
 -aou-  u  –ู  saou[su]  ซู
 -au  o  โ–  matériau [mateʀjo]  มาเตรี
 -au-  o  โ–  hau[o]  
 haute [ot]  อต
E
 -e  ə  เ–อ  le [lə]  
 e-  ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  elle [ɛl]  อล
 -e-  e  เ–  chee]  
 pie[pje]  ปี
 Mane[mane]  มา
 ɛ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  แ–็  mettre [mɛtʀ]  แม็ทร์
 cheɛf]  แช็
 ɛ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  แ–  citoyenne [sitwajɛn]  ซีตัวยน
 prennent [pʀɛn]  พรน
 a (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  prudemment [pʀydamɑ̃]  พรูว์ดม็อง
 solennel [sɔlanɛl]  ซอลแนล
 femme [fam]  ฟ
 ə  เ–อ  reprendre [ʀ(ə)pʀɑ̃dʀ][# 2]  พร็องดร์
 dessus [d(ə)sy]  ซูว์
 règlementer [ʀɛɡləmɑ̃te]  แรกลม็องเต
 parlement [paʀləmɑ̃]  ปาร์ม็อง
 -é  e  เ–  beauté [bote]  โบ
 -è-  ɛ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  แ–็  sèche [sɛʃ]  แซ็
 ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  père [pɛʀ]  ปร์
 ê-  ɛ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  แ–็  être [ɛtʀ]  แอ็ทร์
 -ê-  ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  arrê[aʀɛ]  อา
 fêve [fɛv]  ฟฟว์
 -ë-  ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  noë[nɔɛl]  นออล
 Joë[ʒoɛl]  โฌอล
 -ea-  a (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –า  Jeanne an]  ฌ
 -eau  o  โ–  beau [bo]  
 -eau-  o  โ–  Beauce [bos]  บส
 -ei-  ɛ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 แ–  seigle [sɛɡl]  ซกล์
 seize [sɛz]  ซซ
 neige [nɛʒ]  นฌ
 -eim-  ɛ̃  แ–็ง  Reimɛ̃s]  แร็งส์
 -ein  ɛ̃  แ–็ง  plein [plɛ̃]  แปล็ง
 -em-  ɑ̃  –็อง  membre [mɑ̃bʀ]  ม็องบร์
 -en  ɛ̃  แ–็ง  moyen [mwajɛ̃]  มัวแย็ง
 européen [øʀɔpeɛ̃]  เออรอเปแอ็ง
 -en-  ɑ̃  –็อง  ven[vɑ̃]  ว็อง
 clien[klijɑ̃]  กลีย็อง
 patien[pasjɑ̃]  ปาซีย็อง
 -eu  ø  เ–อ  feu [fø]  
 -eu-  ø  เ–อ  Meuse [møz]  เมิ
 feutre [føtʀ]  เฟิทร์
 deuxième [døzjɛm]  ซีแยม, เซียม
 œ  เ–อ  heure [œʀ]  ร์
 -eû-  ø  เ–อ  jne øn]  เฌิ
I
 i-  i (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –ี  i[il]  อี
 -i-  i (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ิ  mite [mit]  มิ
 pi[pik]  ปิ
 vi[vif]  วิ
 vice [vis]  วิ
 riche iʃ]  ริ
 bouddhiste [budist]  บูดิสต์
 i (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –ี  fini[finiʀ]  ฟีนีร์
 vi[vi]  วี
 Chine in]  ชี
 toubi[tubib]  ตูบี
 digue [diɡ]  ดี
 cerise [s(ə)ʀiz]  เซอรี
 -ï-  i (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ิ  naï[naif]  นาอิ
 î-  i (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –ี  île [il]  อี
 -im-  ɛ̃  แ–็ง  timbre [tɛ̃bʀ]  แต็งบร์
 -in  ɛ̃  แ–็ง  vin [vɛ̃]  แว็ง
O
 -o  o  โ–  do [do]  
 o-  ɔ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –็อ  opter [ɔpte]  อ็อปเต
 -o-  o  โ–  do[do]  
 rose oz]  รซ
 ɔ (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –็อ  botte [bɔt]  บ็อ
 socque [sɔk]  ซ็อ
 ɔ (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –อ  donne [dɔn]  ด
 -ô-  o  โ–  côte [kot]  กต
 -om  ɔ̃  –ง  nom [nɔ̃]  น
 om-  ɔ̃  –ง  ombre [ɔ̃bʀ]  อบร์
 -on  ɔ̃  –ง  mon [mɔ̃]  ม
 -on-  ə  เ–อ[# 3]  monsieur [məsjø]  ซีเยอ
 -ou-  u (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ุ  route ut]  รุ
 u (เมื่อเป็นพยางค์เปิด
หรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)
 –ู  rouge uʒ]  รู
 -où  u  –ู   [u]  อู
 -oû-  u  –ู  gu]  กู
 -œu  ø  เ–อ  vœu [vø]  
 œu-  œ  เ–อ  œu[œf]  เอิ
U
 -u  y (เมื่อเป็นพยางค์เปิด)  –ูว์  perdu [pɛʀdy]  แปร์ดูว์
 humide [ymid]  อูว์มีด
 -u-  y (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ุ  papyru[papiʀys]  ปาปีรุ
 structure [stʀyktyʀ]  สทรุกตูร์
 y (เมื่อตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  –ู  budget [bydʒɛ]  บูดแฌ
 su[syʀ]  ซูร์
 ɔ (เมื่อเป็นพยางค์เปิดหรือตามด้วยพยัญชนะโฆษะ)  –อ  albu[albɔm]  อาลบ
 maximu[maksimɔm]  มักซีม
 référendu[ʀefeʀɑ̃dɔm, ʀefeʀɛ̃dɔm]  เรเฟร็องดม, เรเฟแร็งด
 -û  y (เมื่อเป็นพยางค์เปิด)  –ูว์  dû [dy]  ดูว์
 -ue-  œ  เ–อ  accueil [akœj]  อาเก
 -um  œ̃, ɛ̃[# 4]  เ–ิง, แ–็ง  parfum [paʀfœ̃, paʀfɛ̃]  ปาร์เฟิง, ปาร์แฟ็ง
 -un  œ̃, ɛ̃  เ–ิง, แ–็ง  brun [bʀœ̃, bʀɛ̃]  ริง, ร็ง
Y
 -y-  i (เมื่อตามด้วยพยัญชนะอโฆษะ)  –ิ  cycle [sikl]  ซิกล์
 -ym-  ɛ̃  แ–็ง  sympathie [sɛ̃pati]  แซ็งปาตี
 -yn-  ɛ̃  แ–็ง  syndicat [sɛ̃dika]  แซ็งดีกา
หมายเหตุ
  1. รูปพยัญชนะที่อยู่หน้าเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะต้นหรือมีพยัญชนะอื่นตามมาอีก รูปพยัญชนะที่อยู่หลังเครื่องหมาย – แสดงว่าอยู่ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด
  2. เสียง ə ในวงเล็บยังคงออกเสียงแต่ออกเสียงเพียงเล็กน้อย ในกรณีที่อยู่ในพยางค์แรกให้ทับศัพท์เป็น เ–อ เช่น dessus [d(ə)sy] = ซูว์ ในกรณีที่อยู่ในพยางค์กลางคำหรือท้ายคำไม่ต้องทับศัพท์ เช่น déje[deʒ(ə)te] = เดฌเต
  3. ในคำว่า monsieur เท่านั้น
  4. ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าคนฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะออกเสียงเป็น ɛ̃ = แ–็ง

ดูเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้