วอลเลย์บอลเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย

วอลเลย์บอลเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย หรือ วอลเลย์บอลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี ของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2527[ต้องการอ้างอิง] จัดการแข่งขันโดยสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค[2] โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานักกีฬาไทย ก้าวสู่โอลิมปิก ตามนโยบายของรัฐบาลในโครงการ หนึ่งกีฬา หนึ่งรัฐวิสาหกิจ ถือเป็นรากฐานที่สําคัญในการผลิตนักกีฬา วอลเลย์บอลทีมชาติไทย ทั้งประเภททีมชายและทีมหญิง ทําให้เกิดนักกีฬาหน้าใหม่ที่มีทักษะการเล่นในระดับสูงเกิดขึ้นอย่างมากมายต่อเนื่องเป็นประจําทุกปี[3] โดยทีมที่ชนะเลิศจะได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

วอลเลย์บอลเยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งพ.ศ. 2527
จำนวนทีมชาย: 16 ทีม
หญิง: 16 ทีม
ประเทศ ไทย
ทวีปเอวีซี (เอเชีย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดชาย: โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา (8 สมัย)
หญิง: โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (6 สมัย)[1]

ทำเนียบแชมป์ แก้

ประเภททีมชาย แก้

ปี จังหวัดเจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2548   พิษณุโลก โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
16
2549   อุดรธานี โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
16
2550   จันทบุรี โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(จังหวัดนครปฐม)
โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
16
2551   ขอนแก่น โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(จังหวัดนครปฐม)
16
2552   นครปฐม โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนมักกะสันพิทยา
(กรุงเทพมหานคร)
16
2553[4]   นครศรีธรรมราช โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนมักกะสันพิทยา (กรุงเทพมหานคร) และ โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม (จังหวัดสระแก้ว) 16
2554   พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
16
2555[5]   ขอนแก่น โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
3–2 โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
16
2556   พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) และ โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) 16
2557[6]   สุพรรณบุรี โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–1 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (จังหวัดนครปฐม) และ โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม (จังหวัดเชียงราย) 16
2558[7]   ชัยภูมิ โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–0 โรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์
(จังหวัดสุโขทัย)
โรงเรียนภูเขียว (จังหวัดชัยภูมิ) และ โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) 16
2559[8][9]   พิษณุโลก โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
3–2 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม (จังหวัดนครสวรรค์) และ โรงเรียนชุมแพศึกษา (จังหวัดขอนแก่น) 16
2560[10]   นครราชสีมา โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
3–2 โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) และ โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) 16
2561[11]   กระบี่ โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
3–0 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา (จังหวัดนครราชสีมา) 16
2562[12]   นครราชสีมา โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
(จังหวัดขอนแก่น)
3–1 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนเทศบาลบ้านสามเหลี่ยม (จังหวัดขอนแก่น) และ โรงเรียนท่าข้ามพิทยาคม (จังหวัดชลบุรี) 16
2563[13]   พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–0 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม (จังหวัดขอนแก่น) และ โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) 16
2564[14]   เชียงราย โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนเพชรวิทยาคาร
(จังหวัดชัยภูมิ)
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) และ โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) 16
2565[15]   ชัยภูมิ โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
3–1 โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
(จังหวัดขอนแก่น)
16
2566[16][17]   สงขลา โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–2 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครแม่สอด
(จังหวัดตาก)
3–1 โรงเรียนวาปีปทุม
(จังหวัดจังหวัดมหาสารคาม)
16

ประเภททีมหญิง แก้

ปี จังหวัดเจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2548   พิษณุโลก โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนหนองเรือวิทยา
(จังหวัดขอนแก่น)
2549   อุดรธานี โรงเรียนหนองเรือวิทยา
(จังหวัดขอนแก่น)
16
2550   จันทบุรี โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนหนองเรือวิทยา
(จังหวัดขอนแก่น)
16
2551   ขอนแก่น โรงเรียนสุรนารีวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต
(จังหวัดนครราชสีมา)
16
2552   นครปฐม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
16
2553[4]   นครศรีธรรมราช โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนบ้านหมี่วิทยา
(จังหวัดลพบุรี)
โรงเรียนนครนนท์วิทยา 4 วัดบางแพรกเหนือ (จังหวัดนนทบุรี) และ โรงเรียนสุรนารีวิทยา (จังหวัดนครราชสีมา) 16
2554   พระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนบ้านหมี่วิทยา
(จังหวัดลพบุรี)
16
2555[5]   ขอนแก่น โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
3–2 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
16
2556   พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนหนองเรือวิทยา (จังหวัดขอนแก่น) และ โรงเรียนบ้านหมี่วิทยา (จังหวัดลพบุรี) 16
2557[6]   สุพรรณบุรี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ (จังหวัดชัยนาท) และ โรงเรียนบ้านหมี่วิทยา (จังหวัดลพบุรี) 16
2558[7]   ชัยภูมิ โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
3–1 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (กรุงเทพมหานคร) 16
2559[18][9]   พิษณุโลก โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
3–2 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (จังหวัดนนทบุรี) และ โรงเรียนหนองเรือวิทยา (จังหวัดขอนแก่น) 16
2560[19]   นครราชสีมา โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
3–1 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ (จังหวัดชัยนาท) และ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (กรุงเทพมหานคร) 16
2561[11]   กระบี่ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–1 โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) และ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (กรุงเทพมหานคร) 16
2562[20]   นครราชสีมา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทอง (จังหวัดอ่างทอง) และ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี) 16
2563[21]   พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทอง (จังหวัดอ่างทอง) และ โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส (จังหวัดสุพรรณบุรี) 16
2564[14]   เชียงราย โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทอง
(จังหวัดอ่างทอง)
3–1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนเทศบาล 1 (เอ็งเสียงสามัคคี) (จังหวัดสงขลา) และ โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม (จังหวัดสุโขทัย) 16
2565[15]   ชัยภูมิ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน
(จังหวัดสงขลา)
3–2 โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม
(จังหวัดสุโขทัย)
16
2566[16][17]   สงขลา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนสุรนารีวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–0 โรงเรียนวังจันทร์วิทยา
(จังหวัดระยอง)
16

จำนวนครั้งที่ชนะเลิศ แก้

ประเภททีมชาย แก้

โรงเรียน ครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา 8 2548, 2549, 2551, 2554, 2556, 2557, 2558, 2566
โรงเรียนอัสสัมชัญ 3 2563, 2564, 2565
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
2
2552, 2561
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี 2553, 2559
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
1
2562
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม 2560
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี 2555
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2550

ประเภททีมหญิง แก้

โรงเรียน ครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
6
2557, 2561, 2562, 2563, 2565, 2566
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2552, 2553, 2555, 2556, 2559
โรงเรียนสตรีนนทบุรี 2 2548, 2558
โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทอง
1
2564
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี 2560
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการอยุธยา 2554
โรงเรียนสุรนารีวิทยา 2551
โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต 2550
โรงเรียนหนองเรือวิทยา 2549

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ทำเนียบแชมป์ วอลเลย์บอลเยาวชน PEA". smmsport. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023.[ลิงก์เสีย]
  2. "PEA ร่วมพิธีเปิดการแข่งขันกีฬา วอลเลย์บอลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย". Gimyong News. สืบค้นเมื่อ 2023-07-14.
  3. "แถลงข่าวการแข่งขันวอลเลย์บอลเยาวชน PEA ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18 (ปีที่ 38) ประจําปี 2565 ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี". การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. สืบค้นเมื่อ 2023-07-14.
  4. 4.0 4.1 "07 12 53 พิธีปิดการแข่งขันวอลเลย์บอลเยาวชน กฟภ". tungsong.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  5. 5.0 5.1 "ผลการแข่งขันวอลเลย์บอลเยาวชน กฟภ. ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย". การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค PEA. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  6. 6.0 6.1 "นครนนท์ฟอร์มแจ่ม! ย้ำแค้น สตรีนนท์ คว้าแชมป์ตบ กฟภ". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.[ลิงก์เสีย]
  7. 7.0 7.1 "ย้อนชม Fullmatch คู่ชิงชนะเลิศ #วอลเลย์บอลเยาวชน กฟภ.รุ่นอายุ 18 ปี ประจำปี 2558". SMM Volleyball. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  8. FULL MATCH | วอลเลย์บอลเยาวชน กฟภ 2559 | รอบชิงชนะเลิศชาย | กีฬาจ.สุพรรณบุรี - สระบุรีวิทยาคม, สืบค้นเมื่อ 2023-07-15
  9. 9.0 9.1 "นครนนท์ฟอร์มแจ่ม! ย้ำแค้น สตรีนนท์ คว้าแชมป์ตบ กฟภ". volleyball.or.th. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  10. "นวมินทรฯ ฟอร์มแจ่มอัด กีฬาสุพรรณฯ 3-1 ครองแชมป์ PEA สมัยแรก". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.[ลิงก์เสีย]
  11. 11.0 11.1 "นครนนท์ ควง สระบุรี คว้าแชมป์ PEA 2561". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.[ลิงก์เสีย]
  12. "ชนะรวด 7 เกม! เมืองพล ล้ม นครนนท์ 3-1 คว้าแชมป์ PEA สมัยแรก". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.[ลิงก์เสีย]
  13. "นครนนท์ ควง สระบุรี คว้าแชมป์ PEA ไร้พ่าย 8 เกม! อัสสัมชัญ ผงาดโค่น มิชฌิม ซิวแชมป์ PEA สมัยแรก 2561". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  14. 14.0 14.1 "อัสสัมชัญ ป้องแชมป์-อ่างทอง ครองถ้วยสมัยแรก ศึก PEA ปี 64". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  15. 15.0 15.1 "อัสสัมชัญ แชมป์ 3 ปีซ้อน-นครนนท์ คัมแบ็กครองถ้วย ลูกยาง PEA". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  16. 16.0 16.1 "สมาคมวอลเลย์บอล แถลงจัดศึกลูกยาง PEA ครั้งที่ 19 ปี 2566". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  17. 17.0 17.1 "สรุปอันดับแข่งขันวอลเลย์บอลเยาวชน PEA อายุไม่เกิน 18 ปี รอบชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 19 (ปีที่ 39) ประจำปี 2566". Facebook. SMM Volleyball. 24 October 2023. สืบค้นเมื่อ 9 November 2023.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  18. FULL MATCH | วอลเลย์บอลเยาวชน กฟภ 2559 | รอบชิงชนะเลิศหญิง | บดินทรเดชา - สวนกุหลาบนนทบุรี, สืบค้นเมื่อ 2023-07-15
  19. "กาญจนาฯ บุ๋มบิ๋ม แซง นครนนท์ สุดมัน 3-2 ครองแชมป์ PEAสมัยแรก". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.[ลิงก์เสีย]
  20. "เสียแค่ 1 เซต! นครนนท์ เชือด พณิชฯอยุธยา ครองแชมป์ PEA สมัย 3". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.
  21. "ไร้พ่ายไม่เสียเซต! นครนนท์ มาดุทุบ พณิชฯอยุธยา แชมป์ PEA 3 ปีติด". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้