ราจาเปอร์ไมซูรีอากง

(เปลี่ยนทางจาก รายา ประไหมสุหรี อากง)

ราจาเปอร์ไมซูรีอากง (มลายู: Raja Permaisuri Agong, راج ڤرمايسوري اݢوڠ; ตำแหน่งเต็ม: เกอบาวะฮ์ ดูลี ยังมาฮา มูเลีย เซอรี ปาดูกา บากินดา ราจาเปอร์ไมซูรีอากง (Kebawah Duli Yang Maha Mulia Seri Paduka Baginda Raja Permaisuri Agong, سري ڤدوک بݢيندا راج ڤرمايسوري اݢوڠ) แปลแบบไทยคือ รายา ประไหมสุหรี อากง หมายถึง ราชินีสูงสุด) เป็นตำแหน่งของสมเด็จพระราชินีของยังดีเปอร์ตวนอากงของประเทศมาเลเซีย

ราจาเปอร์ไมซูรีอากง
راج ڤرمايسوري اݢوڠ
สหพันธรัฐ
อยู่ในราชสมบัติ
ราจาเปอร์ไมซูรีอากงองค์ที่ 15
ตุนกู อาซีซะฮ์ อามีนะฮ์ ไมมูนะฮ์ อิสกันดารียะฮ์
ตั้งแต่ 31 มกราคม ค.ศ. 2019
รายละเอียด
พระราชอิสริยยศHer Majesty
ที่ประทับอิสตานา เนอการา, จาลันตวนกูอับดุลฮาลิม
ที่อยู่ทางการ
เว็บไซต์Keeper of the Rulers’ Seal Office

รายพระนาม แก้

นี่คือรายพระนามผู้ดำรงตำแหน่งเป็น ราจาเปอร์ไมซูรีอากง: [a]

ลำดับ พระนาม รัฐ เริ่ม[1] สิ้นสุด ยังดีเปอร์ตวนอากง
1 ตุนกู กูร์ชียะฮ์   รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน 31 สิงหาคม ค.ศ. 1957 1 เมษายน ค.ศ. 1960 สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ระห์มัน
2 ราจา เจอมาอะฮ์   รัฐเซอลาโงร์ 14 เมษายน ค.ศ. 1960 1 กันยายน ค.ศ. 1960 สมเด็จพระราชาธิบดีฮีซามุดดิน อาลัม ชาห์
3 เติงกู บุดรียะฮ์   รัฐปะลิส 21 กันยายน ค.ศ. 1960 20 กันยายน ค.ศ. 1965 สมเด็จพระราชาธิบดีซัยยิด ปูตรา
4 เติงกู อินตัน ซาฮาระฮ์   รัฐตรังกานู 21 กันยายน ค.ศ. 1965 20 กันยายน ค.ศ. 1970 สมเด็จพระราชาธิบดีอิสมาอิล นาซีรุดดิน ชาห์
5 ตุนกู บาฮียะฮ์   รัฐเกอดะฮ์ 21 กันยายน ค.ศ. 1970 20 กันยายน ค.ศ. 1975 สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์
6 เติงกู ไซนับ   รัฐกลันตัน 21 กันยายน ค.ศ. 1975 29 มีนาคม ค.ศ. 1979 สมเด็จพระราชาธิบดียะห์ยา เปตรา
7 เติงกู ฮัจจะฮ์ อัฟซัน   รัฐปะหัง 26 เมษายน ค.ศ. 1979 25 เมษายน ค.ศ. 1984 สมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี อาห์หมัด ชาห์
8 เติงกู ซานารียะฮ์   รัฐยะโฮร์ 26 เมษายน ค.ศ. 1984 25 เมษายน ค.ศ. 1989 สมเด็จพระราชาธิบดีอิสกันดาร์
9 ตวนกู ไบนุน   รัฐเประ 26 เมษายน ค.ศ. 1989 25 เมษายน ค.ศ. 1994 สมเด็จพระราชาธิบดีอัซลัน มูฮิบบุดดิน ชาห์
10 ตุนกู นาจีฮะฮ์   รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน 26 เมษายน ค.ศ. 1994 25 เมษายน ค.ศ. 1999 สมเด็จพระราชาธิบดีจาฟาร์
11 ตวนกู ไอชาห์   รัฐเซอลาโงร์ 26 เมษายน ค.ศ. 1999 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001 สมเด็จพระราชาธิบดีซาลาฮุดดีน อับดุล อาซิซ
12 เติงกู เฟาซียะฮ์   รัฐปะลิส 13 ธันวาคม ค.ศ. 2001 12 ธันวาคม ค.ศ. 2006 สมเด็จพระราชาธิบดีซัยยิด ซีรอญุดดีน
13 ตวนกู นูร์ซาฮีระฮ์   รัฐตรังกานู 13 ธันวาคม ค.ศ. 2006 12 ธันวาคม ค.ศ. 2011 สมเด็จพระราชาธิบดีมีซัน ไซนัล อาบีดิน
5 ตวนกู ฮัจญะห์ ฮามีนะห์   รัฐเกอดะฮ์ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2011 12 ธันวาคม ค.ศ. 2016 สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์1
14 ไม่มี2   รัฐกลันตัน ไม่มี สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน
15 ตุนกู อาซีซะฮ์ อามีนะฮ์   รัฐปะหัง 31 มกราคม ค.ศ. 2019 ยังดำรงตำแหน่ง สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลละฮ์ ชะฮ์
1.^ สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ เป็นยังดีเปอร์ตวนอากงองค์แรกที่ครองราชย์สองครั้ง[2]
2.^ สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 แห่งกลันตัน ทรงครองราชย์โดยไม่มีพระมเหสี เพราะพระองค์ทรงหย่ากับพระมเหสีองค์แรกไปไม่นานก่อนสละราชสมบัติในเดือนมกราคม ค.ศ. 2019 มีรายงานว่าสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5 ราชาภิเษกสมรสกับออกซานา เวอโวดีนา (Oksana Voevodina) อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีการจัดพิธีราชาภิเษกสมรสอย่างเป็นทางการและเวอโวดีนาก็ยังไม่เป็นพระมเหสีของพระองค์อีก[3][4]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Senarai Raja Permaisuri Agong". majlisraja-raja.gov.my. Pejabat Penyimpan Mohor Besar Raja-Raja. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-07. สืบค้นเมื่อ 4 June 2019.
  2. Bernama (14 October 2011). "Kedah Sultan To Be Next King, For The Second Time". สืบค้นเมื่อ 14 October 2011.
  3. "Has former Miss Moscow Oksana Voevodina married Malaysia's king Sultan Muhammad V?", Business Insider, December 3, 2018 – โดยทาง South China Morning Post
  4. "Mahathir says can't confirm if Malaysian King has married, as widely reported on social media". The Straits Times. 30 November 2018. สืบค้นเมื่อ 3 January 2019.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>