รายชื่อประเทศในทวีปแอฟริกาตามพื้นที่

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปแอฟริกาเรียงตามจำนวนพื้นที่ ซึ่งในอดีตประเทศซูดานมีพื้นที่ทั้งสิ้น 2,505,813 ตารางกิโลเมตร แต่ได้แยกดินแดนออกจากกันตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011 ทำให้ประเทศแอลจีเรียมีพื้นที่มากที่สุด

อันดับ ประเทศ[1][2][3] พื้นที่ (ก.ม²)[4]
1  แอลจีเรีย 2,381,741 km2 (919,595 sq mi)
2  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 2,344,858 km2 (905,355 sq mi)
3  ซูดาน 1,861,484 km2 (718,723 sq mi)
4  ลิเบีย 1,759,540 km2 (679,362 sq mi)
5  ชาด 1,284,000 km2 (495,755 sq mi)
6  ไนเจอร์ 1,267,000 km2 (489,191 sq mi)
7  แองโกลา 1,246,700 km2 (481,354 sq mi)
8  มาลี 1,240,192 km2 (478,841 sq mi)
9  แอฟริกาใต้ 1,221,037 km2 (471,445 sq mi)
10  เอธิโอเปีย 1,104,300 km2 (426,373 sq mi)
11  มอริเตเนีย 1,030,700 km2 (397,955 sq mi)
12  อียิปต์[a] 1,001,449 km2 (386,662 sq mi)
13  แทนซาเนีย 945,203 km2 (364,945 sq mi)
14  ไนจีเรีย 923,768 km2 (356,669 sq mi)
15  นามิเบีย 825,418 km2 (318,696 sq mi)
16  โมซัมบิก 801,590 km2 (309,496 sq mi)
17  แซมเบีย 752,614 km2 (290,586 sq mi)
18  ซูดานใต้ 644,329 km2 (248,777 sq mi)
19  โซมาเลีย 637,657 km2 (246,201 sq mi)
20  สาธารณรัฐแอฟริกากลาง 622,984 km2 (240,535 sq mi)
21  มาดากัสการ์ 587,041 km2 (226,658 sq mi)
22  บอตสวานา 581,726 km2 (224,606 sq mi)
23  เคนยา 580,367 km2 (224,081 sq mi)
24  แคเมอรูน 475,442 km2 (183,569 sq mi)
25  โมร็อกโก 446,550 km2 (172,414 sq mi)[b]
26  ซิมบับเว 390,757 km2 (150,872 sq mi)
27  สาธารณรัฐคองโก 342,000 km2 (132,047 sq mi)
28  Ivory Coast (Côte d'Ivoire) 322,460 km2 (124,503 sq mi)
29  บูร์กินาฟาโซ 274,000 km2 (105,792 sq mi)
30  กาบอง 267,668 km2 (103,347 sq mi)
31  กินี 245,857 km2 (94,926 sq mi)
32  กานา 238,534 km2 (92,098 sq mi)
33  ยูกันดา 236,040 km2 (91,136 sq mi)
34  เซเนกัล 196,723 km2 (75,955 sq mi)
35  ตูนิเซีย 163,610 km2 (63,170 sq mi)
36  มาลาวี 118,484 km2 (45,747 sq mi)
37  เอริเทรีย 117,600 km2 (45,406 sq mi)
38  เบนิน 112,622 km2 (43,484 sq mi)
39  ไลบีเรีย 111,369 km2 (43,000 sq mi)
40  เซียร์ราลีโอน 71,740 km2 (27,699 sq mi)
41  โตโก 56,785 km2 (21,925 sq mi)
42  กินี-บิสเซา 36,125 km2 (13,948 sq mi)
43  เลโซโท 30,355 km2 (11,720 sq mi)
44  อิเควทอเรียลกินี 28,051 km2 (10,831 sq mi)
45  บุรุนดี 27,830 km2 (10,745 sq mi)
46  รวันดา 26,798 km2 (10,347 sq mi)
47  จิบูตี 23,200 km2 (8,958 sq mi)
48  Eswatini (Swaziland) 17,364 km2 (6,704 sq mi)
49  Gambia, The 10,380 km2 (4,008 sq mi)
50  กาบูเวร์ดี 4,033 km2 (1,557 sq mi)
51  คอโมโรส 2,235 km2 (863 sq mi)
52  มอริเชียส 2,040 km2 (788 sq mi)
53  เซาตูแมอีปริงซีป 964 km2 (372 sq mi)
54  เซเชลส์ 451 km2 (174 sq mi)
  1. Excluding Asian section.
  2. Excluding all disputed lands (Western Sahara and Spanish territories)

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Field Listing :: Names". CIA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 28 July 2011.
  2. "UNGEGN List of Country Names" (PDF). United Nations Group of Experts on Geographical Names. 2007. สืบค้นเมื่อ 28 July 2011.
  3. "List of countries, territories and currencies". Europa. 9 August 2011. สืบค้นเมื่อ 10 August 2011.
  4. "Field Listing :: Area". CIA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-31. สืบค้นเมื่อ 7 August 2011.