ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศประจำปีของสมาชิกใน สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (AFF) และชาติที่ถูกรับเชิญมาเป็นครั้งคราวก็มาจากส่วนที่เหลือของทวีปเอเชีย ทัวร์นาเมนต์ที่เล่นก่อนหน้านี้ที่อยู่ภายใต้อายุไม่เกิน 17 ปี[1]การแข่งขันจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 2002[2] และกลับมาแข่งขันต่อในปี 2005

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี
ก่อตั้ง2002
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AFF)
จำนวนทีม12
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน อินโดนีเซีย (2 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ไทย
 เวียดนาม
(3 สมัย)
2022

ผลการแข่งขัน

แก้
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงอันดับที่สาม
ชนะเลิศ ผล อันดับที่สอง อันดับที่สาม ผล อันดับที่สี่
2002
รายละเอียด
  มาเลเซีย
  อินโดนีเซีย
 
พม่า
4 – 1  
ลาว
 
อินโดนีเซีย
1 – 0  
มาเลเซีย
2005
รายละเอียด
 
ไทย
 
พม่า
1 – 1
(4-3 ลูกโทษ)
 
ไทย
 
ลาว
3 – 1  
มาเลเซีย
2006
รายละเอียด
 
เวียดนาม
 
เวียดนาม
พบกันหมด  
พม่า
 
บังกลาเทศ
พบกันหมด  
ลาว
2007
รายละเอียด
 
กัมพูชา
 
ไทย
3 – 2  
ลาว
 
เวียดนาม
1 – 1
(4-3 ลูกโทษ)
 
อินโดนีเซีย
2008
รายละเอียด
 
อินโดนีเซีย
 
ออสเตรเลีย
1 – 1
(5-4 ลูกโทษ)
 
บาห์เรน
 
มาเลเซีย
3 – 0  
สิงคโปร์
2009
รายละเอียด
 
ไทย
ไม่มีการแข่งขัน ไม่มีการแข่งขัน
2010
รายละเอียด
 
อินโดนีเซีย
 
เวียดนาม
1 – 0  
จีน
 
ติมอร์-เลสเต
2 – 0  
อินโดนีเซีย
2011
รายละเอียด
 
ลาว
 
ไทย
1 – 0  
ลาว
 
พม่า
2 – 1  
สิงคโปร์
2012
รายละเอียด
 
ลาว
 
ญี่ปุ่น
3 – 1  
ออสเตรเลีย
 
ลาว
3 – 0  
ไทย
2013
รายละเอียด
 
พม่า
 
มาเลเซีย
1 – 1
(3-2 ลูกโทษ)
 
อินโดนีเซีย
 
ออสเตรเลีย
0 – 0
(7-6 ลูกโทษ)
 
เวียดนาม
2014
รายละเอียด
 
อินโดนีเซีย
ไม่มีการแข่งขัน ไม่มีการแข่งขัน
2015
รายละเอียด
 
กัมพูชา
 
ไทย
3 – 0  
พม่า
 
ออสเตรเลีย
10 – 2  
ลาว
2016
รายละเอียด
 
กัมพูชา
 
ออสเตรเลีย
3 – 3
(5-3 ลูกโทษ)
 
เวียดนาม
 
ไทย
3 – 0  
กัมพูชา
2017
รายละเอียด
 
ไทย
 
เวียดนาม
0 – 0
(4–2 ลูกโทษ)
 
ไทย
 
ออสเตรเลีย
3 – 2  
มาเลเซีย
2018
รายละเอียด
 
อินโดนีเซีย
 
อินโดนีเซีย
1 – 1
(4–3 ลูกโทษ)
 
ไทย
 
มาเลเซีย
1 – 0  
พม่า
2019
รายละเอียด
 
ไทย
 
มาเลเซีย
2 – 1  
ไทย
 
อินโดนีเซีย
0 – 0
3–2 ลูกโทษ
 
เวียดนาม
2022
รายละเอียด
 
อินโดนีเซีย
 
อินโดนีเซีย
1–0  
เวียดนาม
 
ไทย
3–0  
พม่า

ความสำเร็จในการแข่งขัน

แก้
ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่
  ไทย 3 (2007, 2011, 2015) 4 (2005, 2017, 2018, 2019) 2 (2016, 2022) 1 (2012)
  เวียดนาม 3 (2006, 2010, 2017) 2 (2016, 2022) 1 (2007) 2 (2013, 2019)
  พม่า 2 (2002, 2005) 2 (2006, 2015) 1 (2011)
  ออสเตรเลีย 2 (2008, 2016) 1 (2012) 3 (2013, 2015, 2017)
  อินโดนีเซีย 2 (2018, 2022) 1 (2013) 2 (2002, 2019) 2 (2007, 2010)
  มาเลเซีย 2 (2013, 2019) 2 (2008, 2018) 3 (2002, 2005, 2017)
  ญี่ปุ่น 1 (2012)
  ลาว 3 (2002,2007, 2011) 2 (2005, 2012) 2 (2006, 2015)
  อินโดนีเซีย 1 (2013) 1 (2012) 2 (2007, 2010)
  จีน 1 (2010)
  บาห์เรน 1 (2008)
  บังกลาเทศ 1 (2006)
  ติมอร์-เลสเต 1 (2010)
  สิงคโปร์ 2 (2008, 2011)
  กัมพูชา 1 (2016)

ดูเพิ่ม

แก้

ดูเพิ่ม

แก้
  1. "AFC U-16 Championship 2008 Competition Information". the-afc.com. Asian Football Confederation. 18 September 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-16. สืบค้นเมื่อ 22 April 2010.
  2. "ASEAN U-17 Championship 2002". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 22 April 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้