ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018 รอบคัดเลือก

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018 รอบคัดเลือก เป็นขั้นตอนการคัดเลือกที่จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ที่จะกำหนดหาทีมที่เข้าร่วมสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018, ครั้งที่ 15 ของการแข่งขันฟุตซอลชายระดับนานาชาติของทวีปเอเชีย.[2]

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย รอบคัดเลือก 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม (อาเซียน)
 ไทย (ตะวันออกและตะวันตก)
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน (ใต้และกลาง)
วันที่15 ตุลาคม – 12 พฤศจิกายน 2560[1]
ทีม29 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน44
จำนวนประตู391 (8.89 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม19,982 (454 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศพม่า Pyae Phyo Maung (11 ประตู)
2016
2020

ทั้งหมด 16 ทีมได้สิทธิ์ที่จะเล่นในรอบสุดท้าย, รวมไปถึง จีนไทเป ผู้ได้สิทธิ์อัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ.[3]

ขั้นตอนการคัดเลือกจะถูกแบ่งออกเป็นสี่โซน, ในขณะที่ โซนอาเซียน ได้เพิ่มเป็นสองเท่าใน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017, โซนตะวันออก และ โซนตะวันตก จะได้ลงเล่นที่ประเทศไทย, และ โซนใต้ ได้ถูกรวมเข้ากับ โซนกลาง หลังจากเนปาลเป็นทีมเดียวเท่านั้นที่มาจากโซนใต้.

ขั้นตอนการคัดเลือก แก้

จาก 47 ชาติสมาชิก เอเอฟซี, ทั้งหมด 29 ทีมเข้าสู่การแข่งขัน. 16 จุดในรอบสุดท้ายจะมีการกระจายดังนี้:

  • เจ้าภาพ : 1 จุด
  • โซนอาเซียน : 4 จุด
  • โซนใต้และกลาง : 4 จุด (สองโซนจะถูกรวมเข้าหากันตั้งแต่เนปาลเป็นทีมเดียวเท่านั้นที่มาจากโซนใต้)
  • โซนตะวันตก : 4 จุด
  • โซนตะวันออก : 3 จุด

การจับสลาก แก้

ทีมวาง แก้

โซนตะวันออก อันดับ
ทีม Final Qual
  ญี่ปุ่น 7 1
  จีน 10 2
  จีนไทเป 13 3
  เกาหลีใต้ 4
  มองโกเลีย 5
  ฮ่องกง 6
  มาเก๊า
โซนใต้และกลาง อันดับ
ทีม Final Qual
  อิหร่าน 1 1
  อุซเบกิสถาน 2 2
  คีร์กีซสถาน 6 3
  ทาจิกิสถาน 14 4
  อัฟกานิสถาน 5
  เติร์กเมนิสถาน 6
  เนปาล
โซนตะวันตก อันดับ
ทีม Final Qual
  อิรัก 8 1
  กาตาร์ 9 2
  เลบานอน 11 3
  ซาอุดีอาระเบีย 12 4
  จอร์แดน 15 5
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 6
  บาห์เรน 7
  ซีเรีย
โซนอาเซียน อันดับ
ทีม Final Zone
  ไทย 3 1
  พม่า 2
  มาเลเซีย 16 3
  ติมอร์-เลสเต 4
  อินโดนีเซีย 5
  บรูไน
  ลาว
  เวียดนาม 4
  ออสเตรเลีย 5
  ฟิลิปปินส์

การจับสลากโซนเอเอฟเอฟ แก้

การจับสลากตามต้นฉบับสำหรับ อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560, 10:00 MMT (UTC+06:30) ระหว่างการประชุมสภาเอเอฟเอฟที่โรงแรมโนโวเท็ลย่างกุ้งแม็กซ์ ใน ย่างกุ้ง, ประเทศเมียนมาร์.[4] หลังจากที่ออสเตรเลียได้ถอนทีมจากการแข่งขัน, การจับสลากซ้ำอีกครั้งก็ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2560 ระหว่างการประชุมสภาเอเอฟเอฟในกรุง บาลี, ประเทศอินโดนีเซีย.[5]

ทีมที่ได้รับการเป็นทีมวางตามผลงานของพวกเขาในการแข่งขัน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2016.

โถ 1 โถ 2 โถ 3
  • (*) ไม่ได้เข้าแข่งขันสำหรับการคัดเลือกแต่ได้มีสถานะที่จะลงเล่นแมตช์นั้น.[6]

การจับสลากโซนเอเอฟซี แก้

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560, 15:00 MYT (UTC+8), ที่บ้านเอเอฟซีในกรุง กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย,[7][8] ยกเว้นสำหรับโซนอาเซียนที่จะได้ใช้ อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2017 ในฐานะทัวร์นาเมนต์รอบคัดเลือกของพวกเขาและการจับสลากก็ได้ถูกจัดขึ้นแล้ว. กลกไกสำหรับแต่ละโซนมีดังนี้:

  • โซนตะวันออก : เจ็ดทีมจาก เอเชียตะวันออก, จะถูกจับสลากอยู่ในหนึ่งกลุ่มที่มีสี่ทีมและหนึ่งกลุ่มที่มีสามทีม.
  • โซนใต้และกลาง : เจ็ดทีมจาก เอเชียใต้ และ เอเชียกลาง, ได้ถูกจับสลากอยู่ในหนึ่งกลุ่มที่มีสี่ทีมและหนึ่งกลุ่มที่มีสามทีม.
  • โซนตะวันตก : แปดทีมจาก เอเชียตะวันตก, ได้ถูกจับสลากอยู่ในสองกลุ่มที่มีสี่ทีม.

ทีมที่ได้รับการเป็นทีมวางตามผลงานของพวกเขาในการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2016 รอบสุดท้าย และ รอบคัดเลือก.

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
โซนตะวันออก
เจ้าภาพ:   ไทย
  1.   ญี่ปุ่น
  2.   จีน
  1.   จีนไทเป
  2.   เกาหลีใต้
  1.   มองโกเลีย
  2.   ฮ่องกง
  3.   มาเก๊า
โซนใต้และกลาง
เจ้าภาพ:   อิหร่าน
  1.   อิหร่าน
  2.   อุซเบกิสถาน
  1.   คีร์กีซสถาน
  2.   ทาจิกิสถาน
  1.   อัฟกานิสถาน
  2.   เติร์กเมนิสถาน
  3.   เนปาล
โซนตะวันตก
เจ้าภาพ:   ไทย
  1.   อิรัก
  2.   กาตาร์
  1.   เลบานอน
  2.   ซาอุดีอาระเบีย
  1.   จอร์แดน
  1.   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  2.   บาห์เรน
  3.   ซีเรีย
ไม่ได้เข้าร่วม
โซนอาเซียน
โซนตะวันออก
โซนใต้และกลาง
โซนตะวันตก

โซนอาเซียน แก้

  • แต่ละนัดจะลงเล่นระหว่างวันที่ 26 ตุลาคม และ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.
  • แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นใน ประเทศเวียดนาม.
  • เวลาที่ระบุไว้คือ UTC+7.

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เวียดนาม (H) 4 4 0 0 49 3 +46 12 รอบรองชนะเลิศ และ
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   พม่า 4 3 0 1 41 5 +36 9
3   อินโดนีเซีย 4 2 0 2 35 7 +28 6
4   บรูไน 4 1 0 3 5 40 −35 3
5   ฟิลิปปินส์[a] 4 0 0 4 0 75 −75 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี และ เอเอฟเอฟ
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. ฟิลิปปินส์ ไม่มีสิทธิ์ที่จะได้รับเลือกสำหรับฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย รอบคัดเลือก.[6]
บรูไน  0–13  พม่า
รายงาน Phyo Maung (forward)   3'14'14'28'
Pyone Aung   7'7'
Min Tun   10'
Aung Aung   16'38'
Zin Oo   20'
Ye Kyaw   27'29'
Kyaw Tun   36'
อินโดนีเซีย  21–0  ฟิลิปปินส์
Syauqi   4'13'32'
Ardiansyah   6'31'33'33'
Nawawi   9'18'
Saptaji   10'37'
Faidasa   20'21'30'38'
Rasyid   21'
Miranda   22' (เข้าประตูตัวเอง)
Mustamu   25'40'
Sunny   35'
Mushar   40'
รายงาน


พม่า  25–0  ฟิลิปปินส์
N. Min Soe   1'16'34'
Phyo Maung (forward)   2'15'24'25'34'
Ye Kyaw   4'
Zaw Lin   7'18'19'
H. Min Soe   10'36'
Myint Soe   10'37'
Min Tun   12'37'
Hermosa   16' (เข้าประตูตัวเอง)
Zin Oo   18'
Phyo Maung (defender)   19'38'
Ko Ko Lwin   28'38'
Aung Aung   31'
รายงาน

บรูไน  0–18  เวียดนาม
รายงาน Ngô Ngọc Sơn   1'10'23'30'
Vũ Quốc Hưng   3'
Đinh Văn Toàn   5'
Trần Thái Huy   5'24'26'33'
Phùng Trọng Luân   9'34'39'
Lê Quốc Nam   12'
Vũ Xuân Du   23'
Danh Phát   25'27'39'

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ไทย 3 3 0 0 37 5 +32 9 รอบรองชนะเลิศ และ
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   มาเลเซีย 3 2 0 1 16 11 +5 6
3   ลาว 3 1 0 2 9 24 −15 3
4   ติมอร์-เลสเต[a] 3 0 0 3 8 30 −22 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี & เอเอฟเอฟ
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
หมายเหตุ :
  1. ติมอร์-เลสเต ไม่มีสิทธิ์ที่จะได้รับเลือกสำหรับอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ รอบคัดเลือก.[6]

ลาว  3–6  มาเลเซีย
Phasaweang   15'30'
Chanchaleune   38'
รายงาน Khairul   2'10'27'
Idris   10'
Azri   12'39'
ติมอร์-เลสเต  2–17  ไทย
Gomes   8'12' รายงาน พีระพล   3'4'12'
Vong   5' (เข้าประตูตัวเอง)
สรศักดิ์   6'16'
ปาณัสม์   9'
เจษฎา   10'19'36'
ชัยวัฒน์   12'
มูฮัมหมัด   14'15'29'30'39'
วีระศักดิ์   22'

โซนตะวันออก แก้

  • แต่ละนัดจะลงเล่นระหว่างวันที่ 4 และ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.
  • แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นใน ประเทศไทย.
  • เวลาที่ระบุไว้คือ UTC+7.

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 3 3 0 0 24 2 +22 9 ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   จีนไทเป[a] 3 2 0 1 13 10 +3 6 รอบเพลย์ออฟ
3   มองโกเลีย 3 1 0 2 9 13 −4 3
4   มาเก๊า 3 0 0 3 2 23 −21 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
หมายเหตุ :
  1. จีนไทเป, ในฐานะชาติเจ้าภาพรอบสุดท้าย, ได้สิทธิ์อัตโนมัติโดยไม่ต้องคำนึงถึงผลการรับรอง.
จีนไทเป  6–0  มาเก๊า
Chi Sheng-fa   16' (ลูกโทษ)
Lin Chih-hung   18'20'32'40'
Chan Tsz Yeung   24' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน

มาเก๊า  0–11  ญี่ปุ่น
รายงาน Shimizu   2'3'30'
Minamoto   16'28'
Murota   22'40'
Saito   23'
Hoshi   25'
Mayedonchi   29'35'

ญี่ปุ่น  8–1  จีนไทเป
Shimizu   3'
Hoshi   5'13'25'
Nibuya   6'15'
Mayedonchi   32'
Yoshikawa   35'
รายงาน Huang Tai-hsiang   8'

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เกาหลีใต้ 2 2 0 0 8 4 +4 6 ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   จีน 2 1 0 1 7 5 +2 3 รอบเพลย์ออฟ
3   ฮ่องกง 2 0 0 2 2 8 −6 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
ฮ่องกง  0–5  จีน
รายงาน Li Jianjia   17'40'
Xu Yang   20'
Zeng Liang   23'
Peng Boyao   34'


จีน  2–5  เกาหลีใต้
Zhuang Jianfa   16'32' รายงาน Kim Gyeong-geun   7'
Lee Sun-ho   25'
Shin Jong-hoon   30'
Kim Min-kuk   38'40'

รอบเพลย์ออฟ แก้

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์ไปแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018.

โซนใต้และกลาง แก้

  • แต่ละนัดจะลงเล่นระหว่างวันที่ 15 และ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2560.
  • แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นใน ประเทศอิหร่าน.
  • เวลาที่ระบุไว้คือ (IRST +3:30).

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุซเบกิสถาน 3 3 0 0 22 6 +16 9 ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   คีร์กีซสถาน 3 2 0 1 13 7 +6 6
3   เติร์กเมนิสถาน 3 1 0 2 14 12 +2 3
4   เนปาล 3 0 0 3 4 28 −24 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
อุซเบกิสถาน  14–1  เนปาล
D. Rakhmatov   2'6'22'
Abdumavlyanov   3'
Choriev   4'24'
Abdurakhmonov   5'
Yunusov   13'13'
A. Rakhmatov   26'
Nishonov   33'
Magar   35' (เข้าประตูตัวเอง)
Shavkatov   39'40'
รายงาน Raut   22'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: An Ran (จีน)
คีร์กีซสถาน  5–3  เติร์กเมนิสถาน
Alimov   29'
Zholdubaev   22'40'
Baigazy Uulu   25'
Imanbekov   36'
รายงาน Alimov   3' (เข้าประตูตัวเอง)
Soltanov   11'
Annaguliyev   25'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Tomohiro Kozaki (ญี่ปุ่น)

เนปาล  0–5  คีร์กีซสถาน
รายงาน Alimov   1'
Tashtanov   5'37'
Baigazy Uulu   13'
Kanetov   21'
ผู้ชม: 100 คน
ผู้ตัดสิน: Rey Ritaga (ฟิลิปปินส์)

อุซเบกิสถาน  4–3  คีร์กีซสถาน
Abdurakhmonov   4'
Sviridov   5'
Adilov   11'
Shavkatov   15'
รายงาน Kanetov   8'35'
Anarbekov   15'
ผู้ชม: 85 คน
ผู้ตัดสิน: Helday Idiang (มาเลเซีย)
เติร์กเมนิสถาน  9–3  เนปาล
Magar   9' (เข้าประตูตัวเอง)
Soltanov   10'21'
Kurbanov   11'
Annaguliyev   27'
Atayev   28'30'
Sahedov   33'
Muhammetmyradov   40'
รายงาน Lama   3'
Gurung   8'
Raut   14'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Lee Po-fu (จีนไทเป)

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน (H) 2 2 0 0 20 4 +16 6 ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   ทาจิกิสถาน 2 1 0 1 6 15 −9 3
3   อัฟกานิสถาน 2 0 0 2 5 12 −7 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
(H) เจ้าภาพ.
อัฟกานิสถาน  2–8  อิหร่าน
Kazemi   8'
Khademi   21'
รายงาน Javid   2'18'28'
Hassanzadeh   5'7'29'
Talebi   15'
Abbasi   19'
ผู้ชม: 2,125 คน
ผู้ตัดสิน: Mohamad Chami (เลบานอน)

ทาจิกิสถาน  4–3  อัฟกานิสถาน
Kazemi   3' (เข้าประตูตัวเอง)
Halimov   9'
Salomov   39'
Alimakhmadov   40'
รายงาน Haidari   9'
Rezayi   14'
Jafari   40'
ผู้ชม: 300 คน
ผู้ตัดสิน: Liu Jianqiao (จีน)

อิหร่าน  12–2  ทาจิกิสถาน
Tavakoli   3'4'
Orouji   6'
Alighadr   17'18'31'
Javid   18'18'
Lotfi   19'
Talebi   30'
Abbasi   34'
Hassanzadeh   39'
รายงาน Sardorov   6'
Bekmurodov   39'
ผู้ชม: 3,254 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)

โซนตะวันตก แก้

  • แต่ละนัดลงเล่นระหว่างวันที่ 10 และ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.
  • แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นใน ประเทศไทย.
  • เวลาที่ระบุไว้คือ UTC+7.

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บาห์เรน 3 2 1 0 8 4 +4 7 ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   อิรัก 3 1 1 1 9 8 +1 4
3   ซาอุดีอาระเบีย 3 0 3 0 7 7 0 3
4   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 0 1 2 2 7 −5 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
อิรัก  2–3  บาห์เรน
Faheem   7' (ลูกโทษ)
Dakheel   38'
รายงาน Anan   2'16'40'


สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  1–4  บาห์เรน
T. Abdulla   15' รายงาน Yusuf   17'
Obaid   23' (เข้าประตูตัวเอง)
Muhammad   38'
Abbas   38'

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เลบานอน 2 2 0 0 6 2 +4 6 ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2018
2   จอร์แดน 2 1 0 1 4 4 0 3
3   กาตาร์ 2 0 0 2 2 6 −4 0
4   ซีเรีย 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการเข้ารอบ
จอร์แดน  3–1  กาตาร์
Samara   2'
Aldeen   6'37'
รายงาน Al-Bulushi   15'

เลบานอน  3–1  จอร์แดน
Samara   6' (เข้าประตูตัวเอง)
Al-Ashran   15' (เข้าประตูตัวเอง)
El-Homsi   31'
รายงาน Samara   21'

กาตาร์  1–3  เลบานอน
Al-Masoudi   40' รายงาน Zeitoun   16'40'
Kouyoumjian   31'

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ด้านล่างนี้คือ 16 ทีมที่ได้สิทธิ์สำหรับรอบสุดท้าย.

ทีม เข้ารอบในฐานะ วันที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  จีนไทเป เจ้าภาพ 29 กรกฎาคม 2560[3] 11 (2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  เวียดนาม โซนอาเซียน ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 29 ตุลาคม 2560 4 (2005, 2010, 2014, 2016)
  พม่า โซนอาเซียน รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 29 ตุลาคม 2560 0 (ครั้งแรก)
  ไทย โซนอาเซียน ชนะเลิศ กลุ่ม บี 27 ตุลาคม 2560 14 (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  มาเลเซีย โซนอาเซียน รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 27 ตุลาคม 2560 11 (1999, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2014, 2016)
  ญี่ปุ่น โซนตะวันออก ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 6 พฤศจิกายน 2560 14 (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  เกาหลีใต้ โซนตะวันออก ชนะเลิศ กลุ่ม บี 6 พฤศจิกายน 2560 12 (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014)
  จีน โซนตะวันออก ชนะเลิศเพลย์ออฟ 8 พฤศจิกายน 2560 11 (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  อุซเบกิสถาน โซนใต้และกลาง ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 16 ตุลาคม 2560 14 ((1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  คีร์กีซสถาน โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 16 ตุลาคม 2560 14 (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  อิหร่าน โซนใต้และกลาง ชนะเลิศ กลุ่ม บี 16 ตุลาคม 2560 14 (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  ทาจิกิสถาน โซนใต้และกลาง รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 16 ตุลาคม 2560 9 (2001, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  บาห์เรน โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม เอ 12 พฤศจิกายน 2560 1 (2002)
  อิรัก โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ 12 พฤศจิกายน 2560 10 (2001, 2002, 2003, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2014, 2016)
  เลบานอน โซนตะวันตก ชนะเลิศ กลุ่ม บี 12 พฤศจิกายน 2560 10 (2003, 2004, 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2012, 2014, 2016)
  จอร์แดน โซนตะวันตก รองชนะเลิศ กลุ่ม บี 12 พฤศจิกายน 2560 1 (2016)
1 ตัวหนา หมายถึงทีมชนะเลิศสำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อับดับดาวซัลโว แก้

11 ประตู
10 ประตู
8 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  •   Akbar Kazemi (ในนัดที่พบกับ ทาจิกิสถาน)
  •   Ahmad Amer Samara (ในนัดที่พบกับ เลบานอน)
  •   Ahmad Basheer Al-Ashran (ในนัดที่พบกับ เลบานอน)
  •   Maksat Alimov (ในนัดที่พบกับ เติร์กเมนิสถาน)
  •   Chan Tsz Yeung (ในนัดที่พบกับ จีนไทเป)
  •   Julian Pio Miranda (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย)
  •   Lorenzo Hermosa (ในนัดที่พบกับ เมียนมาร์)
  •   Andre Vong (ในนัดที่พบกับ ไทย)
  •   Rashid Obaid (ในนัดที่พบกับ บาห์เรน)
2 การทำเข้าประตูตัวเอง
  •   Saurabh Magar (ในนัดที่พบกับ อุซเบกิสถาน, เติร์กเมนิสถาน)
แหล่งที่มา: the-afc.com

อ้างอิง แก้

  1. "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 April 2016.
  2. "AFC Futsal Championship 2018 Competition Regulations" (PDF). AFC.
  3. 3.0 3.1 "AFC Futsal Club Licensing Regulations to strengthen professionalism in Asia". AFC. 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "Women's Championship 2017 cancelled". ASEAN. 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  5. "Redraw for AFF HDBank Futsal Championship 2017". ASEAN. 24 กันยายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 "Thailand the ones to beat in AFF Futsal Championship 2017". Asian Football Confederation. 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  7. "AFC Futsal Championship 2018 Qualifiers Draw". YouTube. 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  8. "AFC Futsal Championship 2018 hopefuls learn their opponents". AFC. 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  9. "Futsalroos funding cut by FFA for 2017-18 financial year". Fox Sports Australia. 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  10. "FIFA Congress drives football forward, first female secretary general appointed". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-21. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้