ฟุตซอลทีมชาติอิหร่าน
ฟุตซอลทีมชาติอิหร่าน (อังกฤษ: Iran national futsal team; เปอร์เซีย: تیم ملی فوتسال ایران) เป็นทีมฟุตซอลตัวแทนจากประเทศอิหร่านแข่งขันในระดับนานาชาติ ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน อิหร่านใด้รับการยอมรับว่าเป็น "ราชาแห่งฟุตซอลเอเชีย" ด้วยผลงานในการคว้าแชมป์รายการฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียมากที่สุดถึง 10 สมัย[3] และอยู่ในอันดับ 6 ของโลก เข้าร่วมการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 5 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดคือเข้าถึงรอบรองชนะเลิศและคว้าอันดับ 4 ในปี พ.ศ. 2535[4]
![]() | |||
ฉายา | ทีมเมลลี (تیم ملی) "ทีมชาติ", ชีตาห์ ((یوزها) ทีมเมลลีฟุตซอล (تیم ملی فوتسال) "ฟุตซอลทีมชาติ" | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (เอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | แวฮีด แชมซอยี | ||
กัปตัน | แอลี แอสแฆร์ แฮแซนซอเด | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | แอลี แอสแฆร์ แฮแซนซอเด (297) | ||
ทำประตูสูงสุด | แวฮีด แชมซอยี (392) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาในร่มแอซอดี | ||
รหัสฟีฟ่า | IRN | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 6 (28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022)[1] | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (ฮ่องกง; 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1992[2]) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย; 7 มีนาคม ค.ศ. 1999) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (ริโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล; 6 ตุลาคม ค.ศ. 2000) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 8 (ครั้งแรกใน 1992) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 3 (2016) | ||
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย | |||
เข้าร่วม | 15 (ทั้งหมด) (ครั้งแรกใน 1999) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018) | ||
WAFF Futsal Championship | |||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน 2007) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (2007, 2012) | ||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 2009) | ||
ผลงานดีที่สุด | ![]() |
ผลงาน แก้
ฟุตซอลชิงแชมป์โลก แก้
ฟุตซอลชิงแชมป์โลก | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | รอบ | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย |
1989 | ไม่ได้เข้าร่วม | – | – | – | – | – | – |
1992 | อันดับ4 | 8 | 5 | 0 | 3 | 36 | 30 |
1996 | รอบ 1 | 3 | 1 | 0 | 2 | 12 | 13 |
2000 | รอบ 1 | 3 | 1 | 0 | 2 | 6 | 9 |
2004 | รอบ 1 | 3 | 1 | 0 | 2 | 9 | 13 |
2008 | รอบ 2 | 7 | 4 | 2 | 1 | 24 | 19 |
2012 | รอบ 2 | 4 | 2 | 1 | 1 | 9 | 8 |
2016 | อันดับ 3 | 7 | 2 | 3 | 2 | 22 | 24 |
รวม | 7/8 | 35 | 16 | 6 | 13 | 118 | 116 |
เอเอฟซีฟุตซอลแชมเปียนชิพ แก้
เอเอฟซีฟุตซอลแชมเปียนชิพ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | รอบ | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | |
1999 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 90 | 7 | +83 |
2000 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 56 | 10 | +46 |
2001 | ชนะเลิศ | 7 | 7 | 0 | 0 | 97 | 13 | +84 |
2002 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 61 | 7 | +54 |
2003 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 60 | 13 | +47 |
2004 | ชนะเลิศ | 7 | 7 | 0 | 0 | 81 | 12 | +69 |
2005 | ชนะเลิศ | 8 | 6 | 1 | 1 | 58 | 15 | +43 |
2006 | อันดับ 3 | 5 | 4 | 0 | 1 | 46 | 12 | +34 |
2007 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 50 | 9 | +41 |
2008 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 48 | 2 | +46 |
2010 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 57 | 9 | +48 |
2012 | อันดับ 3 | 6 | 5 | 0 | 1 | 45 | 9 | +36 |
2014 | อันดับ 2 | 6 | 5 | 1 | 0 | 52 | 8 | +44 |
2016 | ชนะเลิศ | 6 | 6 | 0 | 0 | 48 | 4 | +44 |
รวม | 13/13 | 71 | 49 | 5 | 17 | 427 | 195 |
อ้างอิง แก้
- ↑ Futsal World Ranking
- ↑ اولین تیم رسمی فوتسال ایران (عکس)
- ↑ "Asian Futsal Championship Overview". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2006.
- ↑ "FIFA Futsal World Cup 1992". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2006.