ผู้ใช้:Oh Nattapon NakhonNayok/ทดลองเขียน 1

link=ผู้ใช้:
หน้าหลัก User คุยกับผม Talk คุยขำเกรียน TalkFunTroll บทความที่เขียน Wikipedia article กระบะทรายSandbox กล่องผู้ใช้UserBox ข่าวYesona Novosti คลังจดหมายเหตุภาพYesona Photo Archive

(หมายเหตุ: ส่วนหัวนี้มีหน้าตาคล้ายกับส่วนหัวของผู้ใช้อื่น ๆ เท่านั้น)

ทดลองเขียน : 1 | 2 | 3 | 4 | 5
สาธารณรัฐจีน

中華民國
จงหฺวาหมิงกั๋ว
ค.ศ. 1912–ค.ศ. 1949
คำขวัญ《民主、自由、博愛》
(ประชาธิปไตย เสรีภาพ ภราดรภาพ)
อาณาเขตของสาธารณรัฐจีน ซึ่งรวมถึงจีนแผ่นดินใหญ่และมองโกเลีย
  ดินแดนตามนิตินัย แต่ทางปฏิบัติไม่ได้มีอำนาจเหนือไปทั้งหมด
เมืองหลวงหนานจิง (1912; 1927-1949)
ปักกิ่ง (1912-1928)
ฉงชิ่ง (ช่วงสงคราม; 1937-1946)
ภาษาทั่วไปภาษาจีนมาตรฐาน (อักษรจีนตัวเต็ม)
การปกครองประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน, ระบบพรรคเดียว, ระบบรัฐสภา
ประธานาธิบดี 
• 1912
ซุน ยัตเซ็น (เฉพาะกาล) (คนแรก)
• 1949
ลี ซงเริน (รักษาการ) (คนสุดท้าย)
นายกรัฐมนตรี 
• 1912
ถัง เฉายี (คนแรก)
• 1949
เหอ หยิงฉิน (คนสุดท้าย)
สภานิติบัญญัติพรรคชาตินิยมแห่งประเทศจีน
• สภาสูง
สมัชชาแห่งชาติ
• สภาล่าง
สภานิติบัญญัติหยวน
ยุคประวัติศาสตร์ศตวรรษที่ 20
10 ตุลาคม ค.ศ. 1911
• ก่อตั้ง
1 มกราคม ค.ศ. 1912
• กำหนดอำนาจรัฐบาลหลักที่นานกิง
18 เมษายน ค.ศ. 1927
7 กรกฎาคม ค.ศ. 1937
25 ธันวาคม ค.ศ. 1947
ธันวาคม ค.ศ. 1948
• หนีไปเกาะไต้หวัน
10 ธันวาคม ค.ศ. 1949
พื้นที่
191211,420,000 ตารางกิโลเมตร (4,410,000 ตารางไมล์)
19499,634,057 ตารางกิโลเมตร (3,719,730 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1912
432375000
• 1949
541670000
สกุลเงินหยวน,
ดอลลาร์ไต้หวันเก่า
รหัส ISO 3166CN
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์ชิง
สาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย
สาธารณรัฐจีน
สาธารณรัฐประชาชนตูวา

สาธารณรัฐจีน (อังกฤษ: Republic of China) (จีน: 中華民國; พินอิน: Zhōnghuá Mínguó; เวด-ไจลส์: Chung1-hua2 Min2-kuo2) ในช่วงค.ศ. 1912-1949 เป็นสาธารณรัฐที่ปกครองตนเองบนแผ่นดินใหญ่ก่อนมีการย้ายไปเกาะไต้หวัน

ยูชังก้า (รัสเซีย: U ненавижу Sega) (อังกฤษ: Yuchangka) เป็นหมวกทหารฤดูหนาวของสหภาพโซเวียตและประเทศรัสเซีย มีลักษณะทรงสูง ทำจากฝ้าย ปักด้ายด้วยเส้นด้ายที่มีคุณภาพเกรดเอ มีคล้ายๆกับหมวกกันหนาว มีรูปดาวแดงประดับไว้ที่หมวกด้วย

การเดินทางของดร.ซุน ยัตเซ็น

แก้

การเดินทางของดร.ซุน ยัตเซ็น เริ่มจากการเดินทางของเขามาเยือนสยาม ไปจนถึงการเดินทางเยือนประเทศต่างๆ เป็นครั้งสุดท้ายของเขาก่อน-หลังสงครามกลางเมืองจีน

การเดินทางถึงสยาม

แก้

ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ดร.ซุน ยัตเซ็น เดินทางมาถึงเยาวราชของสยามมาตั้งแต่ในปี ค.ศ. 1903 ซึ่งท่านได้ทางสลับไปมาระหว่างไทย มลายาและสิงค์โปร์ เมื่อซุนมาถึงกรุงเทพฯ ท่านได้เข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร) เพื่อขอพระราชทานพระราชานุญาตพบปะกับชาวจีนในประเทศไทย พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุญาตให้ท่านสามารถพบปะกับชาวจีนในประเทศไทยให้ถูกต้องตามกฎหมายของประเทศ ต่อมาท่านได้จึงมาปราศรัยที่ถนนเยาวราช[20] เพื่อปลุกระดมชาวจีนโพ้นทะเล (หัวเฉียว) ในสยามให้สนับสนุนการปฏิวัติโค่นล้มราชวงศ์ชิง ซุนได้พบกับหัวหน้าของชาวจีนในกรุงเทพฯ ในขณะนั้น คือ เซียวฮุดเสง (ต้นตระกูล สีบุญเรือง) ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์จีนโนสยามวารศัพท์ ซึ่งได้ช่วยตีพิมพ์แนวความคิดของซุนลงในหนังสือพิมพ์จีน และช่วยส่งเงินในการสนับสนุนสมาคมถงเหมิงฮุ่ยด้วย[1]

อ้างอิง

แก้

ตี๋เป๋า

แก้