การสูญพันธุ์
การสูญพันธุ์ (อังกฤษ: Extinction) ในทางชีววิทยาและนิเวศวิทยา คือการสิ้นสุดของการดำรงอยู่ของสปีชีส์หรือของสิ่งมีชีวิต[1] ซึ่งทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง โดยทั่วไปแล้ว ถือว่าชั่วขณะของการสูญพันธุ์คือชั่วขณะความตายของสิ่งมีชีวิตตัวสุดท้ายในสปีชีส์นั้น แม้ว่าความสามารถในการผสมพันธุ์และฟื้นตัวอาจจะสูญเสียไปแล้วก่อนหน้านั้นก็ตาม
รายชื่อสัตว์สูญพันธุ์
แก้- ไดโนเสาร์[2]
- หมีถ้ำยุโรป
- โลมาแม่น้ำแยงซี
- เพนกวินยักษ์
- หมีเม็กซิกัน
- มนุษย์นีแอนเดอร์ทาล
- ม้าลายควางก้า
- นกโดโด้
- นกโมอา
- ปลามีเกราะ
- สุนัขป่าญี่ปุ่น
- วัวทะเลชเลชเตลเลอร์
- มิงค์ทะเล
- สยามโมอะเดปิส แม่เมาะเอนซิส
- กวางไอริส
- ออสตราโคเดิร์ม
- มนุษย์วานร
- หมีหน้าสั้น
- เดดิคูรัส
- กริปโตดอน
- แรดขนยาว
- อีลาสโมเทอเรียม
- เมกะเทอเรียม
- เสือลายเมฆฟอร์โมซา
- ช้างป่าจีน
- ไบซันคอเคนซัล
- ช้างป่าซีเรีย
- หมีแอตลาส
- ลาป่าซีเรีย
- เต่าอาร์คีลอน
- แอมโมนอยด์
- ไลโอพลัวโรดอน
- แรดดำตะวันตก
- คางคกสีทอง
- วัวป่าออรอช
- พิราบพาสเซนเจอร์
- นกช้าง
- สมัน
- ปลาหวีเกศ
- สิงโตบาร์บารี
- ไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส
- เสือดาวแซนซิบาร์
- นกอ๊อคใหญ่
- เม็กกาโลดอน
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ สัตว์ป่า 10 สปีชี่ส์ในโลก ที่อาจสูญพันธุ์ในอีก 10 ปี เก็บถาวร 2021-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, วันที่สืบค้น 25 พฤษภาคม 2559 จาก www.biodiversity.forest.go.th.
- ↑ ยุคของสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ เก็บถาวร 2016-05-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, วันที่สืบค้น 25 พฤษภาคม 2559 จาก www.lesa.biz.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ สัตว์สูญพันธุ์