กนิษฐ์ ชาญปรีชญา
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
พลเอก กนิษฐ์ ชาญปรีชญา หรือ บิ๊กอ้น สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อดีตหัวหน้าคณะนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผู้บังคับบัญชา[1] อดีตรองเสนาธิการทหารบก[2]อดีตผู้บัญชาการหน่วยข่าวกรองทางทหาร[3]อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[4]
กนิษฐ์ ชาญปรีชญา | |
---|---|
สมาชิกวุฒิสภา[5] | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 | |
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 19 (ตท.19) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น 30 (จปร.30) โรงเรียนเสนาธิการทหารบก |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | ![]() |
ประจำการ | พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2563 |
ยศ | ![]() |
ประวัติ แก้
พลเอก กนิษฐ์ ชาญปรีชญา เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 มีชื่อเล่นว่า อ้น เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 19 (ตท.19) นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 30 (จปร.30)
การศึกษา แก้
- โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 19
- วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมโยธา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บริหารบุคคล สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ [7]
การรับราชการ แก้
- พ.ศ. 2555 - ผู้บัญชาการหน่วยข่าวกรองทางทหาร
- พ.ศ. 2559 - รองเสนาธิการทหารบก
- พ.ศ. 2561 - หัวหน้าคณะนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผู้บังคับบัญชา
ตำแหน่งและหน้าที่พิเศษ แก้
- 7 ตุลาคม 2559 - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[8]
- 11 พฤษภาคม 2562 - สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้
- พ.ศ. 2563 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[9]
- พ.ศ. 2560 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[10]
- พ.ศ. 2545 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[11]
- พ.ศ. 2555 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[12]
- พ.ศ. 2537 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[13]
อ้างอิง แก้
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/212/T1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/204_1/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/E/143/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/230/1.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา หน้า ๑ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง,๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหารช้นนายพล เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๒๘ ข หน้า ๒ ๑ กันยายน ๒๕๖๑
- ↑ http://blog.senate.go.th/profile/ganit.c/index.php?url=about
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/230/1.PDF
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๓ เก็บถาวร 2022-10-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๑๓, ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๐ เก็บถาวร 2022-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๗ ข หน้า ๑๔, ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน เก็บถาวร 2022-11-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๑๘ ข หน้า ๓๔, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน เก็บถาวร 2022-08-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๑๙ ข หน้า ๒๙, ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา เก็บถาวร 2022-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๒๖, ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗