ระบบกึ่งประธานาธิบดี
สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี (), ระบบกึ่งประธานาธิบดี (semi-presidential system), ระบบบริหารคู่ (dual executive system), ระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา หรือ ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี เป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่เป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหารโดยใช้อำนาจผ่าน ระบบกึ่งประธานาธิบดีมีต้นกำเนิดใน
ประวัติของระบบกึ่งประธานาธิบดีแก้ไข
ระบอบกึ่งประธานาธิบดีนั้นเกิดขึ้นครั้งแรก ณ ในสมัย โดยมี เป็น ทั้งนี้เพราะไม่ว่าผู้ใดจะมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ก็ทำให้เกิดความวุ่นวาย มีข้อขัดแย้งมากและต้องยุบสภาบ่อย รัฐบาลหรือรัฐสภาต้องออกจากตำแหน่งและมีการเลือกตั้งใหม่อยู่บ่อยครั้ง ทำให้เสียงบประมาณ ดังนั้นนักรัฐศาสตร์และนักนิติศาสตร์ของจึงได้พัฒนารูปแบบการปกครองโดยผสมผสานกันระหว่างระบอบรัฐสภาและระบอบประธานาธิบดี ทั้งนี้ได้มีการบัญญัติไว้ใน และมีการแก้ไขในปี อีกด้วย
หลักการปกครองแก้ไข
อำนาจบริหารแก้ไข
อำนาจบริหาร ประธานาธิบดีมีอำนาจในการบริหารสูงสุด และเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี โดยที่นายกรัฐมนตรีจะต้องเสนอรายชื่อรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรี และประธานาธิบดีจะลงนามอนุมัติ ประธานาธิบดีจึงเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้าอำนาจบริหาร ส่วนนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล
อำนาจนิติบัญญัติแก้ไข
อำนาจนิติบัญญัติ รัฐสภา (สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (สภาสูง)) เป็นผู้ใช้อำนาจและยังทำหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของรัฐบาลให้เป็นไปตามที่เสนอไว้ต่อสภา ทั้งยังมีอำนาจลงมติไม่ไว้วางใจคณะรัฐบาลด้วย แต่ขณะเดียวกันประธานาธิบดีก็มีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรได้เช่นกัน
อำนาจตุลาการแก้ไข
อำนาจตุลาการ ศาลมีอำนาจตุลาการและแยกเป็นอิสระจากอำนาจทุกฝ่าย
รายชื่อประเทศที่ปกครองแบบระบบกึ่งประธานาธิบดีแก้ไข
ระบบประธานาธิบดี-รัฐสภาแก้ไข
ระบบนายกรัฐมนตรี-ประธานาธิบดีแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- กฎหมายรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส เก็บถาวร 2007-11-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน