ยุโรปกลาง (อังกฤษ: Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง[1] หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง

รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902

ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง[2][3][4] แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง”[5][6] ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม”[7][8] ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20[9] “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน”[10]

ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก[11][12] แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น[13][14][15]

รัฐในยุโรปกลาง

แก้

แม้ว่าความเข้าใจของความหมายของยุโรปกลางยังคงเป็นเรื่องที่ยังคงโต้แย้งกันอยู่[16] แต่โดยทั่วไปแล้วประเทศในกลุ่มวิเชอกราด (Visegrád Group) ก็ถือว่าอยู่ในกลุ่มนี้โดยปริยาย[1] สมาชิกในกลุ่มยุโรปกลางมักจะรวม:

ยุโรปกลางบางครั้งก็รวมบางส่วนของประเทศเพื่อนบ้านที่รวมทั้ง:   โครเอเชีย (บางครั้งก็ทั้งประเทศ) และบริเวณทรานสซิลเวเนีย ของ   โรมาเนีย (บางครั้งก็ทั้งประเทศ) และ วอยวาดีนา[17] และ/หรือ บริเวณเบลเกรดของเซอร์เบีย, แคว้นซาการ์ปัจจา (Zakarpattia Oblast) และ บริเวณกาลิเซียของยูเครน), แคว้นคาลินินกราดของรัสเซีย), แคว้นลอร์แรน และ อัสซาซในฝรั่งเศส และบางครั้งก็รวมทางตอนเหนือของอิตาลีด้วย

รัฐในยุโรปกลางตามความเห็นของแหล่งข้อมูลต่าง ๆ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 "Central Europe — The future of the Visegrad group". The Economist. 2005-04-14. สืบค้นเมื่อ 2009-03-07.
  2. Agh 1998, pp. 2–8
  3. http://www.pehe.cz/prednasky/2002/central-european-identity-in-politics
  4. http://www.culturelink.org/conf/cultid01/index.html
  5. http://books.google.com/books?id=k9IwimrMIQgC&printsec=frontcover&dq=central+european+culture
  6. "An Introduction to Central Europe: History, Culture, and Politics - Preparatory Course for Study Abroad Undergraduate Students at CEU" (PDF). Central European University. Budapest. Fall 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-06-17. สืบค้นเมื่อ 2009-06-30.
  7. http://books.google.com/books?id=k9IwimrMIQgC&printsec=frontcover&dq=central+european+culture
  8. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-03-03. สืบค้นเมื่อ 2009-06-30.
  9. http://www.h-net.org/~habsweb/occasionalpapers/untaughtlessons.html
  10. http://quod.lib.umich.edu/c/crossc/intro.html
  11. http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2009/01/weodata/groups.htm#ae
  12. [1]
  13. http://www.spectator.sk/articles/view/27722/9/
  14. http://www.ce-review.org/99/23/lovatt23.html
  15. http://www.h-net.org/~habsweb/occasionalpapers/untaughtlessons.html
  16. "For the Record - The Washington Post - HighBeam Research".[ลิงก์เสีย]
  17. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-12. สืบค้นเมื่อ 2009-06-30.
  18. Peter J. Katzenstein, p. 6
  19. Peter J. Katzenstein, p. 4
  20. Ronald Tiersky, p. 472
  21. Johnson, p.11-12
  22. "The World Factbook: Field listing - Location". The World Factbook. Central Intelligence Agency. 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-24. สืบค้นเมื่อ 2009-05-03.
  23. "Europe". Columbia Encyclopedia. Columbia University Press. 2009. {{cite encyclopedia}}: |access-date= ต้องการ |url= (help)
  24. http://www.larousse.fr/

บรรณานุกรม

แก้
  • Agh, Attila (1998), The politics of Central Europe, SAGE, ISBN 0-7619-5032-X
  • Hayes, Bascom Barry (1994). Bismarck and Mitteleuropa. Fairleigh Dickinson University Press. ISBN 9780838635124.
  • Johnson, Lonnie R. (1996). Central Europe: enemies, neighbors, friends. Oxford University Press. ISBN 9780195100716.
  • Katzenstein, Peter J. (1997). Mitteleuropa: Between Europe and Germany. Berghahn Books. ISBN 9781571811240.
  • Tiersky, Ronald (2004). Europe today. Rowman & Littlefield. ISBN 9780742528055.

ดูเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้