จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน325,870
ผู้ใช้สิทธิ42.16%
  First party Second party
 
ผู้นำ สมัคร สุนทรเวช พิชัย รัตตกุล
พรรค ประชากรไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

ภาพรวม

แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดนนทบุรีทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย ร้อยเอก ชะโลม รัตนเสถียร (14)* 63,186
ประชากรไทย ประชุม รัตนเพียร (13)* 59,750
ประชากรไทย ประยูร จอประยูร (15)* 53,256
ประชาธิปัตย์ ถวิล จันทร์ประสงค์ (4)* 47,226
ประชาธิปัตย์ สถาพร อิ่มใจ (5) 34,255
ประชาธิปัตย์ สำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ (6) 33,927
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พิทยา ไทยวุฒิพงศ์ (1) 12,221
กิจประชาคม วิสุทธิ์ เกาฎีระ (21) 11,794
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันตรี โสภณ ทะสุวรรณ (2) 8,595
ชาติประชาธิปไตย ถนอม เปรมรัศมี (7) 7,103
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สำเภา แก้วสกุณี (17) 7,068
ชาติประชาธิปไตย สุระ ศิริเดช (9) 5,828
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พันเอก ธงชัย นิพิทสุขการ (16) 4,981
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประยูร อนันตรังสี (18) 4,040
ชาติประชาธิปไตย ถวิล โตนวล (8) 3,811
มวลชน วัฒนไชย อยุ่เผือก (12) 2,666
มวลชน อภิชิต เจนพิทักษ์สมบัติ (10) 1,574
มวลชน ธวัช ณ ถลาง (11) 1,414
กิจประชาคม ประชุมพร ทอหุน (20) 1,356
กิจประชาคม ชาญณรงค์ มีชัยสุวรรณ (19) 1,330
กิจสังคม ณัฐ สุพานิช (23) 1,018
กิจสังคม วิชญ ธรรมจักร์ (24) 932
กิจสังคม ทองพูน ควรบัณฑิตย์ (22) 891
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) รัตนา แป้นการ (42) 800
ชาติไทย สมบัติ สังข์ทอง (34) 655
รักไทย มนัส บุณยะกลัมพ (45) 622
ชาติไทย เชวง ทวีชนม์ (35) 493
รักไทย พันตำรวจเอก สำราญ หม้อมงคล (43) 493
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) มะลิ อ่ำเมือง (38) 477
พลังใหม่ เชวงศักดิ์ แสงจันทร์ (25) 472
ชาติไทย สราวุธ นาคน้อย (36) 452
สหประชาธิปไตย นันทวัลภ์ วุฒินันท์ (33) 417
พลังใหม่ รักวิทย์ คุณรักษ์ (26) 323
แรงงานประชาธิปไตย อาทิตย์ สิทธิเกษร (30) 287
พลังใหม่ ปรัชญา เพชรเกื้อ (27) 273
รักไทย ชวลิต ชัยพฤกษ์ (44) 265
สหประชาธิปไตย พันจ่าอากาศเอก สุชาติ ลำรุงพานิช (31) 233
สหประชาธิปไตย ธวัชชัย ริยาพันธ์ (32) 229
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พันตำรวจโท บรรจง วรรณดิษฐ์ (37) 226
แรงงานประชาธิปไตย สมชัย โสธรธีรวัฒน์ (28) 215
แรงงานประชาธิปไตย จตุพล วิทยาคุณ (29) 209
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กัณหา ยิ้มวิไล (40) 190
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมชัย แพงศรี (41) 161
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) มาโนชญ์ ทองนุ่ม (39) 99
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ว่าที่ร้อยตรี ปัญญา ศาสตร์สาระ (3)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530