จักรพรรดินีโคเงียวกุ

(เปลี่ยนทางจาก จักรพรรดินีไซเม)

จักรพรรดินีโคเงียวกุ (ญี่ปุ่น: 皇極天皇โรมาจิKōgyoku-tennō; ค.ศ. 594–661) หรือ จักรพรรดินีไซเม (ญี่ปุ่น: 斉明天皇โรมาจิSaimei-tennō) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 35[1] และ 37[2] ของประเทศญี่ปุ่น ตามลำดับการสืบทอดบัลลังก์[3]

จักรพรรดินีโคเงียวกุ / จักรพรรดินีไซเม
皇極天皇 / 斉明天皇
จักรพรรดินีนาถเเห่งญี่ปุ่น
(โคเงียวกุ, ครั้งแรก)
ครองราชย์25 มกราคม ค.ศ. 642 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 645
ก่อนหน้าโจเม
ถัดไปโคโตกุ
(ไซเม, ครั้งที่สอง)
ครองราชย์3 มกราคม ค.ศ. 655 – 24 กรกฎาคม ค.ศ. 661
ก่อนหน้าโคโตกุ
ถัดไปเท็นจิ
จักรพรรดินีญี่ปุ่น
ดำรงพระยศค.ศ. 630 – 641
พระราชสมภพ7 สิงหาคม ค.ศ. 594
ประเทศญี่ปุ่น
ทาการะ ()
สวรรคต24 สิงหาคม ค.ศ. 661 (66–67 พรรษา)
อาซากูระ โนะ มิยะ
ฝังพระศพโอจิ-โนะ-โอกาโนเอะ โนะ มิซาซางิ (越智崗上陵) (นาระ)
คู่อภิเษกจักรพรรดิโจเม
พระราชบุตร
พระสมัญญานาม
ชิโง แบบจีน:
จักรพรรดินีโคเงียวกุ (皇極天皇)
จักรพรรดินีไซเม (斉明天皇)

ชิโง แบบญี่ปุ่น:
อาเมโตโยะทาการะอิกาชิฮิตาราชิ-ฮิเมะ โนะ ซูเมรามิโกโตะ (天豊財重日足姫天皇)
พระราชบิดาเจ้าชายชินุ
พระราชมารดาเจ้าหญิงคิบิตสึ-ฮิเมะ

พระนางเป็นหนึ่งในสมเด็จพระจักรพรรดินีเพียงสองพระองค์ของญี่ปุ่นที่ได้ครองราชย์ถึงสองครั้ง (อีกพระองค์หนึ่งคือจักรพรรดินีโคเก็ง) พระนางครองราชย์ครั้งแรกเมื่อค.ศ. 686 เมื่อจักรพรรดิโจเม พระราชสวามีได้เสด็จสวรรคต พระนางครองราชย์สั้นๆเป็นเวลา 3 ปี จึงสละราชบัลลังก์ให้จักรพรรดิโคโตะกุ ผู้มีศักดิ์เป็นหลานอาของจักรพรรดิโจเม ต่อมาภายหลังจักรพรรดิโคโตะกุสวรรคต พระนางได้ครองราชย์เป็นครั้งที่สองเมื่อ ค.ศ. 645 จนเสด็จสรรคต พระราชบุตรองค์โตของพระองค์ ได้ขึ้นครองราชย์ต่อเป็น จักรพรรดิเท็นจิ

รายงานดั้งเดิม

แก้

ก่อนทำพิธีรองราชย์ที่ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระนามส่วนพระองค์[4]คือ ทาการะ (ญี่ปุ่น: โรมาจิTakara)[5] หลังดำรงตำแหน่งจักรพรรดินี จึงมีพระนามใหม่ว่า อาเมโตโยะ ทาการะ อิกาชิ ฮิตาราชิ ฮิเมะ (ญี่ปุ่น: 天豐財重日足姬โรมาจิAmetoyo Takara Ikashi Hitarashi hime'')[6]

เจ้าหญิงทาการะ (ทาการะ โนะ มิโกะ) เป็นพระราชปนัดดาในจักรพรรดิบิดัตสึ[7]

พงศาวลี

แก้

[8]

แผนผัง

แก้


อ้างอิง

แก้
  1. Imperial Household Agency (Kunaichō): 皇極(こうぎょく)天皇 (35) and 齊明(さいめい)天皇 (37)
  2. Kunaichō: 斉明天皇 (37)
  3. Ponsonby-Fane, Richard. (1959). The Imperial House of Japan, pp. 49, 51.
  4. Brown, pp. 264; prior to Emperor Jomei, the personal names of the emperors (imina) were very long and people did not generally use them; however, the number of characters in each name diminished after Jomei's reign.
  5. Ponsonby-Fane, p. 8.
  6. Ashton, William. (2005). Nihongi, p. 171; Ponsonby-Fane, p. 8.
  7. Brown, p. 265.
  8. "Genealogy". Reichsarchiv (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 25 January 2018.

ข้อมูล

แก้
ก่อนหน้า จักรพรรดินีโคเงียวกุ ถัดไป
สมเด็จพระจักรพรรดิโจะเม    
จักรพรรดินีนาถแห่งญี่ปุ่น
ครองราชย์ครั้งที่หนึ่ง

  สมเด็จพระจักรพรรดิโคโตะกุ
สมเด็จพระจักรพรรดิโคโตะกุ    
จักรพรรดินีนาถแห่งญี่ปุ่น
ครองราชย์ครั้งที่สอง

  สมเด็จพระจักรพรรดิเท็นจิ