การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่เป็นการทัพของขุนศึกเล่าปี่เพื่อเข้ายึดครองเอ๊กจิ๋ว (ครอบคลุมมณฑลเสฉวนและฉงชิ่งในปัจจุบัน) จากเจ้ามณฑลเล่าเจี้ยง การทัพนี้เกิดขึ้นในช่วง ค.ศ. 211 — 214 อันตรงกับช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แม้ว่าความขัดแย้งระหว่างเล่าปี่กับเล่าเจี้ยงเกิดขึ้นในเดือนมกราคมหรือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 213 เมื่อฝ่ายหลังค้นพบบนสนทนาลับของเล่าปี่และภายหลังทำการประหารชีวิตเตียวสง[a] สงครามนี้สิ้นสุดลงที่เล่าปี่เป็นฝ่ายชนะและยึดครองเอ๊กจิ๋วจากเล่าเจี้ยงในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 214 เอ๊กจิ๋ว (โดยเฉพาะเมืองหลวงเฉิงตูและเมืองโดยรอบ) จะเป็นรากฐานของรัฐจ๊กก๊ก (สู่ฮั่น) ระหว่างสมัยสามก๊ก
การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามเมื่อปลายราชวงศ์ฮั่น | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
เล่าปี่ | เล่าเจี้ยง | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เล่าปี่ | เล่าเจี้ยง | ||||||
กำลัง | |||||||
มากกว่า 30,000 นาย[3] ไม่ทราบจำนวนกำลังเสริมของเตียวหุย, จูล่ง และจูกัดเหลียง[4] |
อย่างน้อย 30,000 นายที่ป้องกันเฉิงตู[5] ไม่ทราบจำนวนกองทัพภายใต้การนำของขุนศึกคนอื่นในภูมิภาค | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
ไม่ทราบ | ไม่ทราบ |
การยึดเอ๊กจิ๋วของเล่าปี่ | |||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 劉備爭奪益州之戰 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 刘备争夺益州之战 | ||||||
|
ภูมิหลัง
แก้หลังยุทธการที่เซ็กเพ็ก ซุนกวนชวนเล่าปี่ให้เข้ายึดเอ๊กจิ๋วกับตน แต่ฝ่ายหลังโต้แย้งฝ่ายแรกอย่างแข็งกร้าวโดยกล่าวว่า: "หากเจ้าจะพิชิตดินแดนสู่ ข้าจะปล่อยผมและกลายเป็นฤๅษีในหุบเขาลึก ปฐพีใต้สวรรค์รับฟังคำสัญญาของข้า และข้าจะรักษาคำพูดของข้า!"[6] ซุนกวนเชื่อเล่าปี่จึงละทิ้งแผนนี้ แต่อันที่จริงเล่าปี่พยายามยึดเอ๊กจิ๋วด้วยตนเองและเจรจาเอาอำเภออี๋หลิงกับหนานจฺวิ้นจากซุนกวน[b] ใน ค.ศ. 211 เล่าเจี้ยง เจ้ามณฑลเอ๊กจิ๋ว ได้ยินว่าโจโฉวางแผนโจมตีเตียวฬ่อที่เมืองฮันต๋ง เนื่องจากเมืองฮันต๋งเป็นที่ตั้งเชิงยุทธศาสตร์และเป็น "ประตู" สู่เอ๊กจิ๋ว เล่าเจี้ยงจึงส่งหวดเจ้งไปสร้างพันธมิตรกับเล่าปี่หลังจากเตียวสงโน้มน้าวให้เขาทำเช่นนั้น จากนั้นเล่าปี่นำคนของเขาไปยังเอ๊กจิ๋วโดยอ้างว่าจะช่วยเล่าเจี้ยงพิชิตเมืองฮันต๋ง[7]
การทัพ (211–214)
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลที่ตามมา
แก้หลังได้ยินว่าเล่าปี่ยึดเอ๊กจิ๋วแล้ว ซุนกวนส่งทูตไปที่เล่าปี่เพื่อขอดินแดนของตนในเกงจิ๋วคืน แต่เล่าปี่กล่าวว่า: "ข้าจะเข้าพิชิตเลียงจิ๋ว ดังนั้น ข่าจะต้องใช้เกงจิ๋วทั้งหมด" ซุนกวนโกรธมากเมื่อทูตของตนกลับมารายงานคำพูดของเล่าปี่ และเล่าปี่ส่งลิบองและเล่งทองกับนายทหารอีก 4 คนเพื่อยึดเกงจิ๋วตอนใต้คืน หลังลิบองและผู้ร่วมทัพเข้ายึด 3 จฺวิ้น เล่าปี่จึงเดินทางกลับอำเภอกงอานและเตรียมยึด 3 จฺวิ้นคืนด้วยกำลัง กระนั้นเมื่อเล่าปี่ได้ยินว่าโจโฉกำลังวางแผนที่จะโจมตีเมืองฮันต๋ง เล่าปี่จึงบรรลุสนธิสัญญาชายแดนกับซุนกวนในที่สุด[8]
หมายเหตุ
แก้- ↑ ปีที่ 17 ของศักราช Jian'an สิ้นสุดในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 213 ในปฏิทินจูเลียน การประหารชีวิตเตียวสงเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สุดท้ายที่มีการบันทึกในปีนั้น ดังนั้น เตียวสงน่าจะเสียชีวิตในเดือนมกราคมหรือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 213
- ↑ อี๋หลิงเป็นทางเข้าสู่เอ๊กจิ๋วจากเกงจิ๋ว (ครอบคลุมมณฑลหูเป่ย์และมณฑลหูหนานในปัจจุบัน)
อ้างอิง
แก้- ↑ Sima (1084), vol. 66.
- ↑ Sima (1084), vol. 67.
- ↑ (先主並軍三萬餘人,車甲器械資貨甚盛。) สามก๊กจี่ เล่มที่ 32.
- ↑ (諸葛亮、張飛、趙雲等將兵溯流定白帝、江州、江陽,惟關羽留鎮荊州。) สามก๊กจี่ เล่มที่ 32.
- ↑ (城中尚有精兵三萬人,谷帛支一年,) สามก๊กจี่ เล่มที่ 31.
- ↑ ((孫權)遣孫瑜率水軍住夏口。備不聽軍過,謂瑜曰:「汝欲取蜀,吾當被發入山,不失信於天下也。」) สามก๊กจี่ เล่มที่ 32.
- ↑ (十六年,益州牧劉璋遙聞曹公將遣鍾繇等向漢中討張魯,內懷恐懼。別駕從事蜀郡張松說璋曰:「曹公兵強無敵於天下,若因張魯之資以取蜀土,誰能御之者乎?」璋曰:「吾固憂之而未有計。」松曰:「劉豫州,使君之宗室而曹公之深讎也,善用兵,若使之討魯,魯必破。魯破,則益州強,曹公雖來,無能為也。」) สามก๊กจี่ เล่มที่ 32.
- ↑ (二十年,孫權以先主已得益州,使使報欲得荊州。先主言:「須得涼州,當以荊州相與。」權忿之,乃遣呂蒙襲奪長沙、零陵、桂陽三郡。先主引兵五萬下公安,令關羽入益陽。是歲,曹公定漢中,張魯遁走巴西。先主聞之,與權連和,分荊州、江夏、長沙、桂陽東屬,南郡、零陵、武陵西屬,引軍還江州。) สามก๊กจี่ เล่มที่ 32.
- ตันซิ่ว. สามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อ).
- ฉาง ฉฺวี (คริสต์ศตวรรษที่ 4). หฺวาหยางกั๋วจื้อ.
- เผย์ ซงจือ. อรรถาธิบายสามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อจู้).
- Sima, Guang (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.