ยุคไทรแอสซิก

(เปลี่ยนทางจาก Triassic)

ยุคไทรแอสซิก (อังกฤษ: Triassic) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก ตรงกับช่วงเวลาประมาณ 251 ± 0.4 ถึง 199.6 ± 0.6 ล้านปีก่อน ยุคไทรแอสซิกเป็นยุคแรกของมหายุคมีโซโซอิก อยู่หลังยุคเพอร์เมียนและอยู่หน้ายุคจูแรสซิก จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดยุคไทรแอสซิกกำหนดจากเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์มากมาย ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวสามารถกำหนดจากชั้นหินได้แน่นอน แต่ช่วงเวลาที่เกิดขึ้นยังไม่สามารถระบุได้ละเอียดจริง ๆ มีค่าความผิดพลาดได้หลายล้านปี

ยุคไทรแอสซิก
251.902 ± 0.024 – 201.36 ± 0.17 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลายุค
หน่วยลำดับชั้นหินหินยุค
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างการปรากฏครั้งแรกของโคโนดอนต์ Hindeodus parvus
ขอบล่าง GSSPเหมยชาน มณฑลเจ้อเจียง ประเทศจีน
31°04′47″N 119°42′21″E / 31.0798°N 119.7058°E / 31.0798; 119.7058
การอนุมัติ GSSP2001[6]
คำนิยามขอบบนการปรากฏครั้งแรกของแอมโมไนต์ Psiloceras spelae tirolicum
ขอบบน GSSPแหล่งคูยอช ภูเขาคาร์เวนเดล เทือกเขาหินปูนแอลป์เหนือ ประเทศออสเตรีย
47°29′02″N 11°31′50″E / 47.4839°N 11.5306°E / 47.4839; 11.5306
การอนุมัติ GSSP2010[7]
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ
ปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 16 % โดยปริมาตร
(80 % ของปัจจุบัน)
ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 1750 ppm
(6 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 17 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 3 °C)

ในยุคไทรแอสซิก สิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในทะเลมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ จากพื้นผิวโลกที่มีสภาพแย่ลงอย่างรวดเร็วหลังการสูญพันธุ์ในช่วงรอยต่อระหว่าง ยุคเพอร์เมียน และ ยุคไทรแอสซิก ปะการังในกลุ่มเฮกซะคอราลเลีย (hexacorallia) ถือกำเนิดขึ้น พืชดอกอาจจะวิวัฒนาการในยุคนี้ รวมกระทั่งสัตว์มีกระดูกสันหลังที่บินได้คือเทอโรซอร์ (Pterosaur)

อ้างอิง แก้

  1. Widmann, Philipp; Bucher, Hugo; Leu, Marc; และคณะ (2020). "Dynamics of the Largest Carbon Isotope Excursion During the Early Triassic Biotic Recovery". Frontiers in Earth Science. 8 (196): 1–16. doi:10.3389/feart.2020.00196.
  2. McElwain, J. C.; Punyasena, S. W. (2007). "Mass extinction events and the plant fossil record". Trends in Ecology & Evolution. 22 (10): 548–557. doi:10.1016/j.tree.2007.09.003. PMID 17919771.
  3. Retallack, G. J.; Veevers, J.; Morante, R. (1996). "Global coal gap between Permian–Triassic extinctions and middle Triassic recovery of peat forming plants". GSA Bulletin. 108 (2): 195–207. doi:10.1130/0016-7606(1996)108<0195:GCGBPT>2.3.CO;2. สืบค้นเมื่อ 2007-09-29.
  4. Payne, J. L.; Lehrmann, D. J.; Wei, J.; Orchard, M. J.; Schrag, D. P.; Knoll, A. H. (2004). "Large Perturbations of the Carbon Cycle During Recovery from the End-Permian Extinction". Science. 305 (5683): 506–9. doi:10.1126/science.1097023. PMID 15273391.
  5. Ogg, James G.; Ogg, Gabi M.; Gradstein, Felix M. (2016). "Triassic". A Concise Geologic Time Scale: 2016. Elsevier. pp. 133–149. ISBN 978-0-444-63771-0.
  6. Hongfu, Yin; Kexin, Zhang; Jinnan, Tong; Zunyi, Yang; Shunbao, Wu (June 2001). "The Global Stratotype Section and Point (GSSP) of the Permian-Triassic Boundary" (PDF). Episodes. 24 (2): 102–14. doi:10.18814/epiiugs/2001/v24i2/004. สืบค้นเมื่อ 8 December 2020.
  7. Hillebrandt, A.v.; Krystyn, L.; Kürschner, W.M.; และคณะ (September 2013). "The Global Stratotype Sections and Point (GSSP) for the base of the Jurassic System at Kuhjoch (Karwendel Mountains, Northern Calcareous Alps, Tyrol, Austria)". Episodes. 36 (3): 162–98. CiteSeerX 10.1.1.736.9905. doi:10.18814/epiiugs/2013/v36i3/001. สืบค้นเมื่อ 12 December 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

ก่อนหน้า
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
541 Ma - ปัจจุบัน
มหายุคพาลีโอโซอิก
541 Ma - 252 Ma
มหายุคมีโซโซอิก
252 Ma - 66 Ma
มหายุคซีโนโซอิก
66 Ma - ปัจจุบัน
แคมเบรียน ออร์โดวิเชียน ไซลูเรียน ดีโวเนียน คาร์บอนิเฟอรัส เพอร์เมียน ไทรแอสซิก จูแรสซิก ครีเทเชียส พาลีโอจีน นีโอจีน ควอเทอร์นารี