อักษรทิเบต

(เปลี่ยนทางจาก Tibetan alphabet)

ในช่วงพ.ศ. 1100-1200 พระเจ้าซงแจ็นกัมโป กษัตริย์ในทิเบตใต้ ส่งเทินมี สัมโภฏะ เสนาบดีคนหนึ่ง ไปอินเดีย เพื่อหาข้อมูลทางพุทธศาสนา สมโภตาได้ประดิษฐ์อักษรทิเบตขึ้น โดยใช้อักษรเทวนาครีเป็นแบบ และเขียนไวยากรณ์ภาษาทิเบต โดยใช้ไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตเป็นตัวอย่าง อักษรทิเบตนี้ ใช้เขียนคัมภีร์ทางพุทธศาสนา พจนานุกรมสันสกฤต-ทิเบตเล่มแรก มีเมื่อราวพ.ศ. 1400 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ไม้ ที่นำมาจากประเทศจีน ได้ใช้กันอย่างแพร่หลายในระยะแรก ปัจจุบันยังคงใช้ในวัดเล็ก ๆ

อักษรทิเบต
มนต์ โอมมณีปัทเมฮุม
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดภาษาทิเบต
ภาษาซองคา
ภาษาลาดัก
ภาษาสิกขิม
ภาษาบัลติ
ช่วงยุคประมาณ พ.ศ. 1193 (ค.ศ. 650)–ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบลูกอักษรลิมบู
อักษรเลปชา
อักษรพักส์-ปา
ช่วงยูนิโคดU+0F00–U+0FFF
ISO 15924Tibt
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
สระอักษรทิเบต
พยัญชนะอักษรทิเบต

วรรณคดีทิเบต มักเกี่ยวกับพุทธศาสนา รวมทั้งงานที่แปลจากภาษาสันสกฤต ภาษาจีน และงานดั้งเดิมของทิเบตเอง เช่นงานเกี่ยวกับศาสนาบอน ซึ่งนับถือกันอยู่ก่อน การเข้ามาของศาสนาพุทธ

ลักษณะ แก้

พยัญชนะมีพื้นเสียงเป็นอะ แยกแต่ละพยางค์ด้วยขีด กลุ่มพยัญชนะมีรูปพิเศษเกิดจากการเชื่อมต่อ

พยัญชนะ แก้

พยัญชนะทิเบตมี 30 ตัว ได้แก่

อักษรทิเบต Wylie ZYPY IPA ถอดเสียง
ka ga /ˉka/
kha ka /ˉkʰa/
ga ka /ˊkʰa/
nga nga /ˊŋa/
ca ja /ˉt͡ɕa/
cha qa /ˉt͡ɕʰa/
ja qa /ˊt͡ɕʰa/
nya nya /ˊɲa/
ta da /ˉta/
tha ta /ˉtʰa/
da ta /ˊtʰa/
na na /ˊna/
pa ba /ˉpa/
pha pa /ˉpʰa/
ba pa /ˊpʰa/
ma ma /ˊma/
tsa za /ˉt͡sa/
ཚྪ tsha ca /ˉt͡sʰa/
dza ca /ˊt͡sa/
wa wa /ˊwa/
zha xa /ˊɕa/
za sa /ˊsa/
'a a /ˊa/
ya ya /ˊja/
ra ra /ˊɹa/
la la /ˊla/
sha xa /ˉɕa/
sa sa /ˉsa/
ha ha /ˉha/
a a /ˉa/

ใช้เขียน แก้

ยูนิโคด แก้

ทิเบต
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+0F0x
U+0F1x
U+0F2x
U+0F3x ༿
U+0F4x  
U+0F5x
U+0F6x      
U+0F7x   ཿ
U+0F8x
U+0F9x  
U+0FAx
U+0FBx   ྿
U+0FCx  
U+0FDx          
U+0FEx                                
U+0FFx                                


อ้างอิง แก้