อักษรคุปตะ
อักษรคุปตะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี จัดอยู่ในกลุ่มอินเดียเหนือ พบในสมัยราชวงศ์คุปตะ ในช่วงพ.ศ. 943 อักษรนี้ยังใช้ต่อมา แม้ว่าราชวงศ์คุปตะจะหมดอำนาจลง ด้วยการรุกรานของชาวหุณ (Hun) เมื่อราว พ.ศ. 1100 อีกราว 200 ปีต่อมา อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรนคริ และอักษรสรทะ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอักษร ที่ใช้ในอินเดียเหนือในปัจจุบัน
อักษรคุปตะ (อักษรพราหมีตอนปลาย) | |
---|---|
![]() | |
ชนิด | อักษรสระประกอบ |
ภาษาพูด | ภาษาสันสกฤต |
ช่วงยุค | ช่วงแรก: ศตวรรษที่ 1[1] พัฒนารูปแบบ: ป. ค.ศ. 400–? |
ระบบแม่ |
อักษรโปรโต-ซิเนติก[a]
|
ระบบลูก | Deodhai นาครี ศารทา สิทธัม Nepal Lipi |
[a] ต้นกำเนิดที่เป็นภาษาเซมิติกของอักษรพราหมีไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับตามสากล | |
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด |
อ้างอิง แก้
- ↑ Gazetteer of the Bombay Presidency, p. 30, ที่ Google Books, Rudradaman’s inscription from 1st through 4th century CE found in Gujarat, India, Stanford University Archives, pages 30–45