อักษรสิทธัม
อักษรสิทธัม (สันสกฤต: सिद्धं สิทธํ หมายถึง ทำให้สำเร็จหรือสมบูรณ์แล้ว, อังกฤษ: Siddham script, ทิเบต: སིད་དྷཾ།; จีน: 悉曇文字; พินอิน: Xītán wénzi; ญี่ปุ่น: 梵字, บนจิ) เป็นชื่ออักษรแบบหนึ่งของอินเดียตอนเหนือ ที่นิยมใช้เขียนภาษาสันสกฤต มีที่มาจากอักษรพราหมี โดยผ่านการพัฒนาจากอักษรคุปตะ ซึ่งก่อให้เกิดเป็นอักษรเทวนาครีในเวลาต่อมา และเกิดเป็นอักษรอื่นๆ จำนวนมากในเอเชีย เช่น อักษรทิเบต เป็นต้น อักษรสิทธัมเผยแพร่พร้อมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าไปสู่จีนและญี่ปุ่นตามลำดับ ตั้งแต่ พ.ศ. 1349 โดยคูไก (空海) ผู้เรียนภาษาสันสกฤตและศาสนาพุทธจากจีน ในญี่ปุ่นเรียกอักษรนี้ว่า "บนจิ" เขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน ปัจจุบันอักษรสิทธัมยังคงใช้ในการประกอบพิธีกรรมของนิกายชิงงง (真言宗, มนตรยาน) ในประเทศญี่ปุ่น
อักษรสิทธัม | |
---|---|
คำว่า สิทฺธํ ในอักษรสิทธัม | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ป. ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6[1] – ป. ค.ศ. 1200[หมายเหตุ 1] |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | สันสกฤต |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | |
ระบบพี่น้อง | อักษรศารทา,[2][3][5] อักษรทิเบต[4] |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Sidd (302), Siddham, Siddhaṃ, Siddhamātṛkā |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Siddham |
ช่วงยูนิโคด | U+11580–U+115FF Final Accepted Script Proposal |
สระ
แก้พยัญชนะ
แก้เสียงพยัญชนะหยุด เสียงพยัญชนะเปิด เสียงพยัญชนะเสียดแทรก อโฆษะ สิถิล อโฆษะ ธนิต โฆษะ สิถิล โฆษะ ธนิต นาสิก กัณฐชะ 𑖮 ห h Velar 𑖎 ก k 𑖏 ข kh 𑖐 ค g 𑖑 ฆ gh 𑖒 ง ṅ ตาลุชะ 𑖓 จ c 𑖔 ฉ ch 𑖕 ช j 𑖖 ฌ jh 𑖗 ญ ñ 𑖧 ย y 𑖫 ศ ś มุทธชะ 𑖘 ฏ ṭ 𑖙 ฐ ṭh 𑖚 ฑ ḍ 𑖛 ฒ ḍh 𑖜 ณ ṇ 𑖨 ร r 𑖬 ษ ṣ ทันตชะ 𑖝 ต t 𑖞 ถ th 𑖟 ท d 𑖠 ธ dh 𑖡 น n 𑖩 ล l 𑖭 ส s โอฏฐชะ 𑖢 ป p 𑖣 ผ ph 𑖤 พ b 𑖥 ภ bh 𑖦 ม m ทันโตฏฐชะ 𑖪 ว v
ระเบียงภาพ
แก้-
เจดีย์ สรฺวตถาคตาธิษฺฐานหฤทยคุหฺยธาตุครณฺฑมุทฺราธารณี
-
อักขระ 42 ตัวในอวตังสกสูตร
-
คำว่า "นาค"
-
คาถา "โอม มณี ปัทเม หูม"
-
พระนาม "มหาจักรีสิรินธร" ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
-
คำว่า "ธรรม" (𑖠𑖨𑖿𑖦)
-
คำว่า "สวัสดี"
หมายเหตุ
แก้- ↑ ยังคงมีผู้ใช้งานเชิงพิธีกรรมในญี่ปุ่นและเกาหลี
อ้างอิง
แก้- ↑ Singh, Upinder (2008). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century. Delhi: Pearson. p. 43. ISBN 9788131716779.
- ↑ 2.0 2.1 https://archive.org/details/epigraphyindianepigraphyrichardsalmonoup_908_D/mode/2up,p39-41 [ลิงก์เสีย]
- ↑ 3.0 3.1 Malatesha Joshi, R.; McBride, Catherine (11 June 2019). Handbook of Literacy in Akshara Orthography. ISBN 9783030059774.
- ↑ 4.0 4.1 Daniels, P.T. (January 2008). "Writing systems of major and minor languages".
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ 5.0 5.1 5.2 Masica, Colin (1993). The Indo-Aryan languages. p. 143.
- ↑ Handbook of Literacy in Akshara Orthography, R. Malatesha Joshi, Catherine McBride (2019), p. 27.
ข้อมูล
แก้- Bonji Taikan (梵字大鑑). (Tōkyō: Meicho Fukyūkai, 1983)
- Chaudhuri, Saroj Kumar (1998). Siddham in China and Japan, Sino-Platonic papers No. 88
- e-Museum, National Treasures & Important Cultural Properties of National Museums, Japan (2018), "Sanskrit Version of Heart Sutra and Viyaya Dharani", e-Museum, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-22, สืบค้นเมื่อ 2022-10-07
- Stevens, John. Sacred Calligraphy of the East. (Boston, MA: Shambala, 1995.)
- Van Gulik, R.H. Siddham: An Essay on the History of Sanskrit Studies in China and Japan (New Delhi, Jayyed Press, 1981).
- Yamasaki, Taikō. Shingon: Japanese Esoteric Buddhism. (Fresno: Shingon Buddhist International Institute, 1988.)
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ อักษรสิทธัม
- ฟอนต์:
- Noto Sans Siddham จาก Noto fonts project
- Muktamsiddham—Free Unicode Siddham font
- ApDevaSiddham—(Japanese) Free Unicode 8.0 Siddham Font (mirror)
- Siddham alphabet on Omniglot
- Examples of Siddham mantras Chinese language website.
- Visible Mantra an extensive collection of mantras and some sūtras in Siddhaṃ script
- Bonji Siddham เก็บถาวร 2009-06-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Character and Pronunciation
- SiddhamKey Software for inputting Siddham characters