ไม่ฝักใจทางเพศ

ไม่ฝักใจทางเพศ หรือ เอเซ็กชวลลิตี (อังกฤษ: asexuality)[1][2][3] หรือ เอเซ็กชวล (asexual) คือการขาดความสนใจทางเพศ ไม่ให้ความสนใจต่อกิจกรรมทางเพศ[4][5][6] อาจถือได้ว่าหย่อนรสนิยมทางเพศ หรือเป็นหนึ่งในสี่ของเพศ ได้แก่ รักต่างเพศ รักร่วมเพศ และรักร่วมสองเพศ[7][8][9] จากการศึกษาในปี ค.ศ. 2004 พบผู้ไม่ฝักใจทางเพศ 1%[7][10]

สัญลักษณ์สามเหลี่ยมคว่ำ แบ่งครึ่งบนสีขาว ครึ่งล่างสีดำ คือสัญลักษณ์ประจำเพศเอเซ็กชวลลิตี

การไม่ฝักใจทางเพศเป็นการขาดกิจกรรมทางเพศและการอยู่เป็นโสด (celibacy) [11] ซึ่งเป็นพฤติกรรมและแรงกระตุ้นทั่วไปที่เกิดจากปัจจัยอย่างเช่น ความสนใจส่วนบุคคล หรือ ความเชื่อทางศาสนา[12] รสนิยมทางเพศนั้นแตกต่างจากพฤติกรรมทางเพศ ที่เชื่อว่าเป็นสิ่งถาวร[13] ผู้ไม่ฝักใจทางเพศบางคนหมั้นหมาย ทั้ง ๆ ที่ตนขาดความต้องการทางเพศและสนใจทางเพศ ด้วยเหตุผลหลากหลายประการ อย่างเช่น ต้องการความรักกับคู่ร่วมชีวิตหรือต้องการมีบุตร[6]

การยอมรับในเรื่องไม่ฝักใจทางเพศนั้นและการศึกษาวิจัยด้านนี้ยังค่อนข้างใหม่[4][6][8][14] มีการศึกษาทั้งมุมมองด้านสังคมและจิตวิทยา ที่เพิ่งเริ่มพัฒนา[6] ขณะที่นักวิจัยยืนยันว่าการไม่ฝักใจทางเพศนั้นเป็นรสนิยมทางเพศ แต่ก็มีนักวิจัยที่ไม่เห็นด้วยเช่นกัน[8][9]

อ้างอิงแก้ไข

  1. "Asexual". thefreedictionary.com. สืบค้นเมื่อ 3 December 2011.
  2. "Nonsexual". thefreedictionary.com. สืบค้นเมื่อ 3 December 2011.
  3. Harris, Lynn (26 May 2005). "Asexual and proud!". Salon. สืบค้นเมื่อ 3 December 2011.
  4. 4.0 4.1 Bogaert, Anthony F. (2006). "Toward a conceptual understanding of asexuality" เก็บถาวร 2012-01-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Review of General Psychology 10 (3) 241–250. Retrieved 31 August 2007.
  5. Kelly, Gary F. (2004). "Chapter 12". Sexuality Today: The Human Perspective (7 ed.). McGraw-Hill. p. 401. ISBN 9780072558357  Asexuality is a condition characterized by a low interest in sex. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |nopp=, |lastauthoramp=, |laydate=, |chapterurl=, |laysummary=, |authormask= และ |separator= (help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 Prause, Nicole; Cynthia A. Graham (August 2004). "Asexuality: Classification and Characterization" (PDF). Archives of Sexual Behavior. 36 (3): 341–356. doi:10.1007/s10508-006-9142-3. PMID 17345167. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-27. สืบค้นเมื่อ 31 August 2007. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  7. 7.0 7.1 Bogaert, Anthony F. (2004). "Asexuality: prevalence and associated factors in a national probability sample". Journal of Sex Research. 41 (3): 279–87. doi:10.1080/00224490409552235. PMID 15497056. {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help)
  8. 8.0 8.1 8.2 Melby, Todd (November 2005). "Asexuality gets more attention, but is it a sexual orientation?". Contemporary Sexuality. 39 (11): 1, 4–5. ISSN 1094-5725. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-29. สืบค้นเมื่อ 20 November 2011  The journal currently does not have a website {{cite journal}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |postscript= (help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  9. 9.0 9.1 Marshall Cavendish, บ.ก. (2010). "Asexuality". Sex and Society. Vol. 2. Marshall Cavendish. pp. 82–83. ISBN 978-0-7614-7906-2. สืบค้นเมื่อ 27 July 2013.
  10. "Study: One in 100 adults asexual". CNN. 15 October 2004. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-27. สืบค้นเมื่อ 11 November 2007. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  11. DePaulo, Bella (26 September 2011). "ASEXUALS: Who Are They and Why Are They Important?". Psychology Today. สืบค้นเมื่อ 13 December 2011.
  12. The American Heritage Dictionary of the English Language (3d ed. 1992), entries for celibacy and thence abstinence
  13. "Sexual orientation, homosexuality and bisexuality". American Psychological Association. สืบค้นเมื่อ March 30, 2013.
  14. "Overview". The Asexual Visibility and Education Network (AVEN). 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-10. สืบค้นเมื่อ 14 October 2011.