โอเปก
องค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก (อังกฤษ: Organization of Petroleum Exporting Countries) หรือ โอเปก (อังกฤษ: OPEC; /ˈoʊpɛk/ oh-pek) กำเนิดใน พ.ศ. 2503 มีสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วยประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก อิหร่าน คูเวต และเวเนซุเอลา เดิมมีสำนักงานใหญ่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบัน โอเปกมีสมาชิกเพิ่มอีก 8 ประเทศ คือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไนจีเรีย แอลจีเรีย ลิเบีย กาบอง (ต่อมาถอนตัวในปี ค.ศ. 2008 แล้วกลับมาในปี ค.ศ. 2016) อิเควทอเรียลกินี และล่าสุดสาธารณรัฐคองโก รวมเป็น 12 ประเทศ โดยได้ย้ายสำนักงานใหญ่ไปที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ตั้งแต่ ค.ศ. 1965 กลุ่มโอเปกถือเป็นกลุ่มผู้ส่งออกน้ำมันที่สำคัญ ซึ่งหากกลุ่มโอเปกลดกำลังการผลิตลงก็จะส่งผลให้ราคาน้ำมันตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นรวมถึงประเทศทางเอเชียรวมทั้งประเทศไทยด้วยเช่นกัน แต่ถ้าหากกลุ่มโอเปกกลับมาเพิ่มการผลิตมากขึ้น ก็จะทำให้ราคาน้ำมันตลาดโลกปรับตัวลดลงด้วยเช่นเดียวกัน เนื่องจากมีการผลิตและส่งออกน้ำมันในปริมาณที่เพียงพอต่อมวลมนุษชาติโดยเฉพาะประเทศแถบเอเชีย
องค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก (โอเปก) | |
---|---|
สำนักงานใหญ่ | เวียนนา ออสเตรีย |
ภาษาราชการ | อังกฤษ |
ประเภท | ข้อตกลงระหว่างประเทศ (International cartel)[1] |
สมาชิก |
|
ผู้นำ | |
• เลขาธิการ | Haitham Al-Ghais (1 สิงหาคม 2022) |
สถาปนา | แบกแดด, อิรัก |
• นิตินัย | กันยายน 1960 |
• พฤตินัย | มกราคม 1961 |
สกุลเงิน | ดัชนีของดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล (US$/bbl) |
เว็บไซต์ www |
สมาชิก
แก้ปัจจุบัน
แก้ประเทศ | ทวีป | ปีที่เข้าร่วม[2][3] | ประชากร (พ.ศ. 2560)[5] |
พื้นที่ (กม.2)[6] |
การผลิตปิโตรเลียม (บาร์เรลต่อวัน, 2016)[A][7] |
ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว (บาร์เรล, 2016)[A][8] |
---|---|---|---|---|---|---|
แอลจีเรีย | แอฟริกาเหนือ | 1969 | 40,606,052 | 2,381,740 | 1,348,361 | 12,200,000,000 |
อิเควทอเรียลกินี | แอฟริกากลาง | 2017 | 1,221,490 | 28,050 | ... | ... |
กาบอง | แอฟริกากลาง | 1975–1995, 2016 | 1,979,786 | 267,667 | 210,820 | 2,000,000,000 |
อิหร่าน | ตะวันออกกลาง | 1960 | 80,277,428 | 1,648,000 | 3,990,956 | 157,530,000,000 |
อิรัก | ตะวันออกกลาง | 1960 | 37,202,572 | 437,072 | 4,451,516 | 143,069,000,000 |
คูเวต | ตะวันออกกลาง | 1960 | 4,052,584 | 17,820 | 2,923,825 | 101,500,000,000 |
ลิเบีย | แอฟริกาเหนือ | 1962 | 6,293,253 | 1,759,540 | 384,686 | 48,363,000,000 |
ไนจีเรีย | แอฟริกาตะวันตก | 1971 | 185,989,640 | 923,768 | 1,999,885 | 37,070,000,000 |
สาธารณรัฐคองโก | แอฟริกากลาง | 2018[9] | 5,125,821 | 342,000 | 260,000 | 1,600,000,000 |
ซาอุดีอาระเบีย | ตะวันออกกลาง | 1960 | 32,275,687 | 2,149,690 | 10,460,710 | 266,578,000,000 |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | ตะวันออกกลาง | 1967 | 9,269,612 | 83,600 | 3,106,077 | 97,800,000,000 |
เวเนซุเอลา | อเมริกาใต้ | 1960 | 31,568,179 | 912,050 | 2,276,967 | 299,953,000,000 |
โอเปกรวม | 483,630,000 | 12,492,695 | 35,481,740 | 1,210,703,000,000 | ||
ทั่วโลกรวม | 8,147,175,000 | 510,072,000 | 80,622,287[10] | 1,650,585,000,000 | ||
เปอร์เซ็นต์โอเปก | 6.3% | 2.4% | 44% | 73% |
- ↑ 1.0 1.1 1 บาร์เรลปิโตรเลียม (bbl) ประมาณ 42 แกลลอนสหรัฐอเมริกาหรือ 159 ลิตรหรือ 0.159 ม.3แตกต่างกันเล็กน้อยกับอุณหภูมิ ในบริบทซูเปอร์แทนเกอร์จะถือ 2,000,000 บาร์เรล (320,000 ม.3) และอัตราการผลิตปัจจุบันของโลกจะใช้เวลาประมาณ 56 ปีในการทำให้ปริมาณน้ำมันสำรองที่พิสูจน์แล้วในปัจจุบันของโลกหมดลง[11] and the world's current production rate would take approximately 56 years to exhaust the world's current proven reserves.
อดีต
แก้ประเทศ | ทวีป | ปีที่เข้าร่วม[2] | ประชากร (พ.ศ. 2560)[5] |
พื้นที่ (กม.2)[6] |
การผลิตปิโตรเลียม (บาร์เรลต่อวัน, 2016)[7] |
ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว (บาร์เรล, 2016)[8] |
---|---|---|---|---|---|---|
แองโกลา | แอฟริกาใต้ | 2007–2023 [12] | 28,813,463 | 1,246,700 | 1,769,615 | 8,423,000,000 |
เอกวาดอร์ | อเมริกาใต้ | 1973–1992, 2007–2020[4] | 16,385,068 | 283,560 | 548,421 | 8,273,000,000 |
อินโดนีเซีย | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 1962–2008, ม.ค.–พ.ย. 2016 |
261,115,456 | 1,904,569 | 833,667 | 3,692,500,000 |
กาตาร์ | ตะวันออกกลาง | 1961–2019[13] | 2,569,804 | 11,437 | 1,522,902 | 25,244,000,000 |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Glossary of Industrial Organisation Economics and Competition Law" (PDF). OECD. 1993. p. 19.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 "Member Countries". OPEC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2020. สืบค้นเมื่อ 7 January 2020.
- ↑ 3.0 3.1 "OPEC 172nd Meeting concludes". OPEC (Press release). 11 March 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2017. สืบค้นเมื่อ 26 May 2017.
- ↑ 4.0 4.1 "Comunicado Oficial" [Official Statement] (Press release) (ภาษาสเปน). Metropolitan District of Quito, Ecuador: Ministry of Energy and Non-Renewable Natural Resources. 2020-01-02. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-06. สืบค้นเมื่อ 2020-01-06.
- ↑ 5.0 5.1 "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
- ↑ 6.0 6.1 "Field Listing: Area". The World Factbook. Central Intelligence Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 January 2014. สืบค้นเมื่อ 4 January 2009.
- ↑ 7.0 7.1 "Production of Crude Oil including Lease Condensate 2016" (CVS download). US Energy Information Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 April 2017. สืบค้นเมื่อ 28 May 2017.
- ↑ 8.0 8.1 "Crude Oil Proved Reserves 2016" (CVS download). U.S. Energy Information Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 April 2017. สืบค้นเมื่อ 28 May 2017.
- ↑ Editorial. "Congo Republic becomes OPEC oil cartel's newest member". U.K. (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 June 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-06-22.
- ↑ Excluding condensate oil production of nearly 20 million bbl/day
- ↑ Hayler, William B.; Keever, John M. (2003). American Merchant Seaman's Manual. Cornell Maritime Press. p. 14.3. ISBN 978-0-87033-549-5.
- ↑ "Angola leaves Opec oil cartel in output quota row". BBC.com. 22 December 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2023.
- ↑ Alkhalisi, Zahraa (3 December 2018). "Qatar is pulling out of OPEC to focus on gas". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2018. สืบค้นเมื่อ 3 December 2018.