เอ็ม1 คาร์บิน (ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ปืนไรเฟิลสั้นสหรัฐ, คาลิเบอร์.30, เอ็ม 1) เป็นปืนไรเฟิลแบบสั้นกึ่งอัตโนมัติด้วยกระสุนขนาด .30 คาร์บิน(7.62x33 mm) ซึ่งน้ำหนักเบาและใช้งานง่าย[4] มันเป็นอาวุธปืนแบบมาตรฐานสำหรับกองทัพสหรัฐในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สงครามเกาหลี และสงครามเวียดนาม เอ็ม1 คาร์บิน ผลิตขึ้นในหลายรูปแบบและใช้งานกันอย่างแพร่หลายโดยไม่เพียงแค่กองทัพสหรัฐเท่านั้น แต่เป็นกองกำลังกึ่งทหารและกองกำลังตำรวจทั่วโลก มันยังเป็นอาวุธปืนสำหรับพลเรือนที่ได้รับความนิยม

คาร์ไบน์, คาลิเบอร์.30, เอ็ม 1
เอ็ม1 คาร์ไบน์
ชนิด
  • M1, ปืนไรเฟิลสั้นแบบกึ่งอัตโนมัติ
  • M2/M3, ปืนไรเฟิลสั้นแบบมีระบบปรับโหมดการยิง
แหล่งกำเนิดสหรัฐอเมริกา
บทบาท
ประจำการ1942–1973 (United States)
ผู้ใช้งานSee Users
สงครามสงครามโลกครั้งที่สอง
การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ
สงครามกลางเมืองจีน (limited)
สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกาหลี
วิกฤตการณ์มาลายา
สงครามแอลจีเรีย
วิกฤตการณ์คลองสุเอซ
การปฏิวัติคิวบา
สงครามเวียดนาม
สงครามกลางเมืองลาว
การบุกครองอ่าวหมู[1]
สงครามหกวัน
สงครามกลางเมืองกัมพูชา
The Troubles
สงครามกลางเมืองแองโกลา
กันยายนทมิฬ[2]
สงครามกลางเมืองเลบานอน
สงครามยาเสพติดเม็กซิโก
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบFrederick L. Humeston
William C. Roemer
David Marshall Williams
ช่วงการออกแบบ1938–1941
บริษัทผู้ผลิตMilitary contractors
Commercial copies
มูลค่า$45 (WW2)
ช่วงการผลิตJuly 1942–August 1945 (U.S. military)
1945–present (Commercial)
จำนวนที่ผลิต6,121,309 (WWII)[3]
แบบอื่นM1A1, M1A3, M2, M2A2, M3
ข้อมูลจำเพาะ
มวล5.2 lb (2.4 kg) empty 5.8 lb (2.6 kg) loaded w/ sling
ความยาว35.6 in (900 mm)
ความยาวลำกล้อง18 in (460 mm)

กระสุน.30 Carbine (7.62×33mm)
การทำงานGas-operated (short-stroke piston), rotating bolt
อัตราการยิงSemi-automatic (M1/A1)
750 rounds/min (M2)[3]
ความเร็วปากกระบอก1,990 ft/s (607 m/s)
ระยะหวังผล300 yd (270 m)
ระบบป้อนกระสุน15- or 30-round detachable box magazine
ศูนย์เล็งRear sight: aperture; L-type flip or adjustable, front sight: wing-protected post

เอ็ม2 คาร์บิน เป็นรูปแบบของเอ็ม1 คาร์บินที่มีระบบปรับโหมดการยิง(selective-fire)ที่สามารถยิงได้ทั้งในรูปแบบกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติเต็มรูปแบบ เอ็ม3 คาร์บิน เป็นเอ็ม2 คาร์บินที่ติดตั้งด้วยกล้องสโคปแบบระบบอินฟาเรด[5]

แม้จะมีชื่อและรูปร่างคล้ายกัน แต่เอ็ม1 คาร์บินนั้นไม่ใช่ปืนไรเฟิลสั้นในรูปแบบของไรเฟิลเอ็ม1 กาแรนด์ พวกเขาเป็นอาวุธปืนที่มีความแตกต่าง และพวกเขาใช้กระสุนที่มีความแตกต่าง เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1925 กองทัพสหรัฐได้เริ่มที่จะใช้ระบบการตั้งชื่อที่เป็นที่ยอมรับ เมื่อคำว่า "เอ็ม" เป็นชื่อย่อมาจาก "โมเดล" และหมายเลขแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาอุปกรณ์และอาวุธตามลำดับ[6] ดังนั้น "เอ็ม1 ไรเฟิล" จึงเป็นไรเฟิลแบบแรกที่ได้พัฒนาขึ้นภายใต้ระบบนี้ "เอ็ม1 คาร์บิน" เป็นปืนไรเฟิลสั้นแบบแรกที่ถูกพัฒนาขึ้นภายใต้ระบบนี้ เอ็ม3 คาร์บิน เป็นปืนไรเฟิลสั้นแบบที่สองที่ถูกพัฒนาขึ้นภายใต้ระบบนี้ ฯลฯ

อ้างอิง แก้

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Pigs
  2. Katz, Sam (24 Mar 1988). Arab Armies of the Middle East Wars (2). Men-at-Arms 128. Osprey Publishing. pp. 40–41. ISBN 9780850458008.
  3. 3.0 3.1 Thompson, Leroy (22 November 2011). The M1 Carbine. Osprey Publishing. pp. 25–30, 32, 41–56, 57–70. ISBN 9781849086196.
  4. Meche, W. Derek (6 มิถุนายน 2013). "M1 Carbine: The collector's item you can actually use". Guns.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 มีนาคม 2016.
  5. Hogg, Ian V.; Weeks, John S. (10 February 2000). Military Small Arms of the 20th Century (7th ed.). Krause Publications. p. 290.
  6. International Encyclopedia of Military History. James C. Bradford. Routledge, Dec 1, 2004. p. 886