เวลายุโรปตะวันออก
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
เวลายุโรปตะวันออก (อังกฤษ: Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้วย

เวลาในทวีปยุโรป:
▉▉▉▉ สีอ่อน: ใช้เวลามาตรฐานทั้งปี
▉▉▉ สีเข้ม: สังเกตเวลาฤดูร้อน
ฟ้าอ่อน | เวลายุโรปตะวันตก / เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC) |
สีฟ้า | เวลายุโรปตะวันตก / เวลามาตรฐานกรีนิช (UTC) |
เวลาออมแสงยุโรปตะวันตก / เวลาออมแสงบริติช / เวลามาตรฐานไอร์แลนด์ (UTC+1) | |
สีแดง | เวลายุโรปกลาง (UTC+1) |
เวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) | |
สีเหลือง | เวลายุโรปตะวันออก / เวลาคาลินินกราด (UTC+2) |
สีกากี | เวลายุโรปตะวันออก (UTC+2) |
เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก (UTC+3) | |
เขียวอ่อน | เวลามอสโก / เวลาตุรกี (UTC+3) |
เทอร์ควอยซ์ | เวลาอาร์มีเนีย / เวลาอาเซอร์ไบจาน / เวลาจอร์เจีย (UTC+4) |
▉▉▉ สีเข้ม: สังเกตเวลาฤดูร้อน
การใช้แก้ไข
มีหนึ่งประเทศที่ใช้เขตเวลายุโรปตะวันออกตลอดปี ได้แก่ประเทศลิเบีย,ประเทศอียิปต์,ประเทศรัสเซีย นอกจากนี้ ประเทศหรือส่วนของประเทศต่อไปนี้ ใช้เขตเวลายุโรปตะวันออกในช่วงฤดูหนาว
- ประเทศบัลแกเรีย
- ประเทศไซปรัส
- เอสโตเนีย
- ประเทศฟินแลนด์
- ประเทศกรีซ
- ประเทศอิสราเอล
- ประเทศจอร์แดน
- ประเทศลัตเวีย
- ประเทศเลบานอน
- ประเทศลิทัวเนีย
- ประเทศมอลโดวา
- ประเทศปาเลสไตน์
- ประเทศโรมาเนีย
- ประเทศซีเรีย
- ประเทศยูเครน ยกเว้น สาธารณรัฐไครเมีย
ประเทศที่เคยใช้เขตเวลายุโรปตะวันออก
- ประเทศเบลารุส พ.ศ. 2467-พ.ศ. 2473 และ พ.ศ. 2534-พ.ศ. 2554
- ประเทศตุรกี พ.ศ. 2453-พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2528-พ.ศ. 2559
- ประเทศรัสเซีย เฉพาะ มอสโก พ.ศ. 2465-พ.ศ. 2473 และ พ.ศ. 2534-พ.ศ. 2535
- สาธารณรัฐไครเมีย พ.ศ. 2534-พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2539-พ.ศ. 2557
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |