จักรวรรดิซิกข์
จักรวรรดิซิกข์ หรือ จักรวรรดิสิกข์ (หรือ สิกข์ขาลสาราช หรือ Sarkar-i Khalsa[7]) เป็นอดีตรัฐที่มีอาณาเขตอยู่ในอนุทวีปอินเดีย ตั้งขึ้นภายใต้การนำของมหาราชารณชีต สิงห์ ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิฆราวาสนิยมขึ้นในภูมิภาคปัญจาบ[8] จักรวรรดิเริ่มต้นขึ้นในปี 1799 เมื่อมหาราชารณชีต สิงห์ เข้ายึดครองเมืองลาฮอร์ และสิ้นสุดในปี 1849[1][9] ระหว่างจุดรุ่งเรืองสูงสุดของจักรวรรดิในศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิครอบคลุมพื้นที่จากไคเบอร์พาสส์ทางตะวันตกไปถึงทิเบตตะวันตกในทางตะวันออก และจากมิตันโกตในทางใต้ ไปถึงกัศมีร์ในทางเหนือ จักรวรรดิสิกข์มีประชากรราว 3.5 ล้านคนในปี 1831 (ทำให้เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดเป็นลำดับที่ 19) ด้วยประชากรที่มีความหลากหลายทางศาสนาสูง[6]
จักรวรรดิสิกข์ ਸਰਕਾਰ-ਏ-ਖਾਲਸਾ سرکارِ خالصہ Sarkar-i Khalsa | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1799–1849 | |||||||||||||||
![]() อินเดียราวปี 1805 แสดงการปกครองของสิกข์ทางตอนบนของแผนที่ | |||||||||||||||
เมืองหลวง | ลาฮอร์ | ||||||||||||||
ภาษาทั่วไป |
| ||||||||||||||
ศาสนา | ศาสนาสิกข์ และศาสนอื่น ๆ | ||||||||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตย | ||||||||||||||
มหาราชา | |||||||||||||||
• 1801–1839 | รณชีต สิงห์ | ||||||||||||||
• 1839 | ขารัก สิงห์ | ||||||||||||||
• 1839–1840 | นาว นิหัล สิงห์ | ||||||||||||||
• 1840–1841 | จันทะ กาวร์ | ||||||||||||||
• 1841–1843 | เชร์ สิงห์ | ||||||||||||||
• 1843–1849 | ทุลีป สิงห์ | ||||||||||||||
• 1843–1849 | ชินทะ กาวร์ (ผู้สำเร็จราชการ) | ||||||||||||||
วะซีร์ | |||||||||||||||
• 1799–1818 | Jamadar Khushal Singh[4] | ||||||||||||||
• 1818–1843 | Dhian Singh Dogra | ||||||||||||||
• 1843–1844 | Hira Singh Dogra | ||||||||||||||
• 14 May 1845 – 21 September 1845 | Jawahar Singh Aulakh | ||||||||||||||
• 1845–1846 | ลาล สิงห์ | ||||||||||||||
• 31 มกราคม 1846 – 9 มีนาคม 1846 | กุหลาบ สิงห์[5] | ||||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคใหม่ตอนต้น | ||||||||||||||
• รณชีต สิงห์ เข้ายึดครองเมืองลาฮอร์ | 7 กรกฎาคม 1799 | ||||||||||||||
• สิ้นสุดสงครามอังกฤษ-สิกข์ ครั้งที่สอง | 29 มีนาคม 1849 | ||||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||||
• 1831 | 3,500,000[6] | ||||||||||||||
สกุลเงิน | นานักชาฮีซิกเก (Nanak Shahi Sikke) | ||||||||||||||
| |||||||||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ |
การก่อตั้งของจักรวรรดิสิกข์เริ่มต้นขึ้นเมื่อมหาราชารณชีต สิงห์ เข้ายึดครองเมืองลาฮอร์จากผู้ปกครองเดิม ซะมัน ชาห์ ดูร์รานี ตามด้วยการค่อย ๆ ขับไล่ชาวอัฟกันออกจากบริเวณผ่านสวครามอัฟกัน-สิกข์ และการรวมกันของมิสล์ (misls) ย่อย ๆ ของชาวซิกข์ในบริเวณ รณชีต สิงห์ แต่งตั้งตนเองเป็นมหาราชาแห่งปัญจาบในวันที่ 12 เมษายน 1801 (ตรงกับวันวิสาขี) โดยมีท่านซาฮิบสิงห์เบดี (Sahib Singh Bedi) ลูกหลานของคุรุนานัก เป็นผู้ประกอบพิธีบรมราชาภิเษก[10]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ 1.0 1.1 Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. 22 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 892.
- ↑ Grewal, J. S. (1990). The Sikhs of the Punjab, Chapter 6: The Sikh empire (1799–1849). The New Cambridge History of India. Cambridge University Press. p. 112. ISBN 0-521-63764-3.
The continuance of Persian as the language of administration.
- ↑ Fenech, Louis E. (2013). The Sikh Zafar-namah of Guru Gobind Singh: A Discursive Blade in the Heart of the Mughal Empire. Oxford University Press (USA). p. 239. ISBN 978-0199931453.
We see such acquaintance clearly within the Sikh court of Maharaja Ranjit Singh, for example, the principal language of which was Persian.
- ↑ Grewal, J.S. (1990). The Sikhs of the Punjab. Cambridge University Press. p. 107. ISBN 0-521-63764-3. สืบค้นเมื่อ 15 April 2014.
- ↑ Satinder Singh, Raja Gulab Singh's Role 1971, pp. 46–50.
- ↑ 6.0 6.1 Amarinder Singh's The Last Sunset: The Rise and Fall of the Lahore Durbar
- ↑ Waheeduddin 1981, p. 15.
- ↑ "Ranjit Singh: A Secular Sikh Sovereign by K.S. Duggal. (Date:1989. ISBN 8170172446)". Exoticindiaart.com. 3 September 2015. สืบค้นเมื่อ 2009-08-09.
- ↑ Grewal, J. S. (1990). The Sikhs of the Punjab, Chapter 6: The Sikh empire (1799–1849). The New Cambridge History of India. Cambridge University Press. ISBN 0-521-63764-3.
- ↑ The Encyclopaedia of Sikhism Archived 8 May 2014 at the Wayback Machine., section Sāhib Siṅgh Bedī, Bābā (1756–1834).
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ จักรวรรดิซิกข์