ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2022
เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวัน ชิงแชมป์โลก 2022 |
|||
ก่อนหน้า: | 2021 | ถัดไป: | 2023 |
การแข่งขัน เอฟไอเอ ฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIA Formula One World Championship) เป็นการแข่งขันรถฟอร์มูลาวันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 73 เป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกที่รับรองโดย สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (เอฟไอเอ) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลการแข่งขันรถยนต์ระดับนานาชาติ ในฐานะการแข่งขันระดับสูงสุดของการแข่งรถประเภทล้อเปิด (open-wheel racing cars) โดยการแข่งขันชิงแชมป์โลกจะมีกำหนดการเข้าร่วมการแข่งขันหรือกรังด์ปรีซ์ที่จัดขึ้นทั่วโลก นักขับและทีมผู้ผลิตจะแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งผู้ชนะเลิศประเภทนักขับ และผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตตามลำดับ ในปีนี้จะมีการแข่งขัน 23 กรังด์ปรีซ์ ซึ่งจะจัดขึ้นทั่วโลก และมีกำหนดจะสิ้นสุดเร็วกว่าในปีอื่น ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้การแข่งขันทับซ้อนกับฟุตบอลโลก[1] [2] นักขับและทีมผู้ผลิตจะแข่งขันกันเพื่อชิงตำแหน่งผู้ชนะเลิศประเภทนักขับ และผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตตามลำดับ
การแข่งขันชิงแชมป์โลกในปี 2022 จะมีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในกฎระเบียบทางเทคนิคของกีฬา การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายที่จะนำมาใช้ในปี 2021 แต่ถูกเลื่อนออกไปจนถึงปี 2022 เนื่องจากการระบาดของโควิด-19[3]
มักซ์ แฟร์สตัปเปิน นักแข่งของ เร็ดบุลเรซซิง เป็นผู้ชนะเลิศประเภทนักขับในฤดูกาลก่อนหน้า ในขณะที่ เมอร์เซเดส เป็นผู้ชนะเลิศประเภททีมผู้ผลิตในฤดูกาลก่อนหน้า[4]
ผู้เข้าแข่งขัน
แก้ทีมและนักขับต่อไปนี้อยู่ภายใต้สัญญาที่จะเข้าร่วมการแข่งขันชิงแชมป์โลกปี 2022[5] โดยทุกทีมจะใช้ยางรถของปีเรลลี [6] แต่ละทีมจะต้องมีนักขับอย่างน้อยสองคนสำหรับรถสองคัน
ทีม | ผู้ผลิต | โครงรถ | เครื่องยนต์ | นักขับ | ||
---|---|---|---|---|---|---|
หมายเลข | ชื่อ | รอบที่ลงแข่ง | ||||
อัลฟาโรเมโอเรซซิงออร์เลน | อัลฟาโรเมโอเรซซิง-แฟร์รารี | ซี42[7] | แฟร์รารี 066/7 | 24
77 |
โจว กวนยู | 1–22
1–22 |
สกูเดเรียอัลฟาทอรี | อัลฟาทอรี-เร็ดบุล | เอที03[8] | เร็ดบุล อาร์บีพีทีเอช 001[8] | 10
22 |
ปีแยร์ แกสลี | 1–22
1–22 |
เบเวเทอัลพีนเอฟวันทีม[9] | อัลพีน-เรอโนลต์ | เอ522 | เรอโนลต์ อี-เทค อาร์อี 22[10] | 14
31 |
เฟร์นันโด อาลอนโซ | 1–22
1–22 |
แอสตันมาร์ติน อารัมโค คอกนิแซนต์เอฟวันทีม[11] | แอสตันมาร์ติน-เมอร์เซเดส | เอเอ็มอาร์22 | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม13 | 27
5 18 |
นิโค ฮึลเคินแบร์ค | 1–2
3–22 1–22 |
สกูเดเรียแฟร์รารี | แฟร์รารี | เอฟ1-75[12] | แฟร์รารี 066/7[13] | 16
55 |
ชาร์ล เลอแกลร์ | 1–22
1–22 |
ฮาสเอฟวันทีม | ฮาส-แฟร์รารี | วีเอฟ-22[13] | แฟร์รารี 066/7[13] | 20
47 |
เควิน เมานุสเซิน | 1–22
1–22 |
แม็กลาเรนเอฟวันทีม | แม็กลาเรน-เมอร์เซเดส | เอ็มซีแอล36[14] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม13[14] | 3
4 |
แดเนียล ริคาร์โด | 1-22
1–22 |
เมอร์เซเดส-เอเอ็มจีเปโตรนาสฟอร์มูลาวันทีม | เมอร์เซเดส | เอฟวัน ดับบลิว13[15] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม13 | 44
63 |
ลูวิส แฮมิลตัน | 1–22
1–22 |
ออราเคิลเร็ดบุลเรซซิง[16] | เร็ดบุลเรซซิง | อาร์บี18[17] | เร็ดบุล อาร์บีพีทีเอช 001[18][19] | 1
11 |
มักซ์ แฟร์สตัปเปิน | 1–22
1–22 |
วิลเลียมส์เรซซิง | วิลเลียมส์-เมอร์เซเดส | เอฟดับบลิว44[20] | เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี เอฟวัน เอ็ม13[21] | 6
23 45 |
นิโคลัส ลาตีฟี | 1–22
1–22 16 |
ที่มา:[22][23] |
ปฏิทินการแข่งขัน
แก้การแข่งขันในปี 2022 ประกอบไปด้วยการแข่งขัน 23 รายการ[24] [1]
ผลการแข่งขันและตารางคะแนน
แก้กรังด์ปรีซ์
แก้ระบบคะแนน
แก้คะแนนจะมอบให้กับนักขับ 10 อันดับแรกและนักขับที่ทำรอบเร็วที่สุด ซึ่งนักขับที่ทำรอบที่เร็วที่สุดจะต้องอยู่ใน 10 อันดับแรกเพื่อรับคะแนน และคะแนนรอบสปรินต์จะมอบให้กับนักขับ 8 อันดับแรก ในกรณีที่คะแนนเสมอกันระบบนับถอยหลังจะถูกใช้โดยที่นักขับที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดจะได้รับการจัดอันดับสูงกว่า หากผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเหมือนกันจะตัดสินโดยผลลัพธ์ถัดไปที่ดีที่สุด คะแนนจะมอบให้สำหรับทุกการแข่งขันโดยใช้ระบบต่อไปนี้:[27]
อันดับ | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | FL |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
กรังด์ปรีซ์ | 25 | 18 | 15 | 12 | 10 | 8 | 6 | 4 | 2 | 1 | 1 |
สปรินต์ | 8 | 7 | 6 | 5 | 4 | 3 | 2 | 1 |
ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทนักขับ
แก้
|
|
หมายเหตุ:
- † – นักขับที่ไม่จบการแข่งขัน แต่ถูกจัดอันดับเพราะแข่งขันมากกว่า 90% ของระยะทางการแข่งขัน
ตารางคะแนนชิงแชมป์โลกประเภทผู้ผลิต
แก้
|
|
หมายเหตุ:
- † – นักขับที่ไม่จบการแข่งขัน แต่ถูกจัดอันดับเพราะแข่งขันมากกว่า 90% ของระยะทางการแข่งขัน
หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Baldwin, Alan; Sarkar, Pritha; Ferris, Ken (15 October 2021). "Chinese GP off F1 calendar for third year in a row". Reuters. London. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
- ↑ 2.0 2.1 Benson, Andrew (15 October 2021). "Chinese Grand Prix: Shanghai race dropped from 2022 F1 calendar". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
- ↑ Herrero, Daniel (20 March 2020). "Formula 1's new regulations delayed until 2022". speedcafe.com. Speedcafe. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2020. สืบค้นเมื่อ 20 March 2020.
- ↑ "Brilliant Verstappen claims maiden title after victory in Abu Dhabi season finale following late Safety Car drama". Formula1. 12 December 2021. สืบค้นเมื่อ 12 December 2021.
- ↑ Smith, Luke (19 August 2020). "All 10 Formula 1 teams sign up for new Concorde Agreement". Autosport. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2020. สืบค้นเมื่อ 28 January 2021.
- ↑ Coch, Mat (26 November 2018). "Pirelli to remain F1 tyre supplier until 2023". speedcafe.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2019. สืบค้นเมื่อ 10 February 2019.
- ↑ "Alfa Romeo clear up confusion over name of 2022 car". RacingNews365 (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-01.
- ↑ 8.0 8.1 "Scuderia AlphaTauri AT03". Scuderia AlphaTauri. สืบค้นเมื่อ 18 February 2022.
- ↑ "BWT and Alpine F1 Team combine forces in strategic partnership aimed at sustainability drive". Alpinecars.com. 11 February 2022. สืบค้นเมื่อ 11 February 2022.
- ↑ "Alpine A522". Alpinecars.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-21. สืบค้นเมื่อ 21 February 2022.
- ↑ "AMF1 and Aramco enter a long-term strategic partnership". Aston Martin Aramco Cognizant F1 Team. 3 February 2022.
- ↑ "F1-75, the New Ferrari Single-Seater". Ferrari. สืบค้นเมื่อ 18 February 2022.
- ↑ 13.0 13.1 13.2 "VF-22". Haas F1 Team. สืบค้นเมื่อ 18 February 2022.
- ↑ 14.0 14.1 "McLaren MCL36 Technical Specification". McLaren. สืบค้นเมื่อ 18 February 2022.
- ↑ "Haas homologates chassis as Merc fires up for '22". RACER (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 23 December 2021. สืบค้นเมื่อ 23 December 2021.
- ↑ "Motor racing-Oracle signs F1 title sponsorship deal with Red Bull". Financial Post (ภาษาอังกฤษ). 2022-02-09. สืบค้นเมื่อ 2022-02-09.
- ↑ Red Bull Racing (14 January 2022). "Join Us For The Launch Of RB18". www.redbullracing.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
- ↑ "Red Bull agree deal to run Honda engine technology until 2025". Formula1.com. 15 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 February 2021.
- ↑ Smith, Luke (3 July 2021). "Honda's Sakura facility will supply Red Bull F1 engines in 2022". Autosport. สืบค้นเมื่อ 18 July 2021.
- ↑ "Williams announce launch date for 2022 FW44 challenger". Formula1.com. 8 February 2022. สืบค้นเมื่อ 8 February 2022.
- ↑ Horton, Phillip (13 September 2019). "Williams extends Mercedes F1 power unit deal through 2025". MotorSport Week. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2019. สืบค้นเมื่อ 13 September 2019.
- ↑ Official entry lists:
- "2022 Bahrain Grand Prix – Entry List" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 18 March 2022. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
- "2022 Saudi Arabian Grand Prix – Entry List" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 25 March 2022. สืบค้นเมื่อ 25 March 2022.
- "2022 Australian Grand Prix – Entry List" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 8 April 2022. สืบค้นเมื่อ 8 April 2022.
- "2022 Emilia Romagna Grand Prix – Entry List" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 22 April 2022. สืบค้นเมื่อ 22 April 2022.
- "2022 Miami Grand Prix – Entry List" (PDF). Fédération Internationale de l'Automobile. 6 May 2022. สืบค้นเมื่อ 6 May 2022.
- ↑ "2022 FIA Formula One World Championship – Entry List". Fédération Internationale de l'Automobile. 10 March 2022. สืบค้นเมื่อ 10 March 2022.
- ↑ 24.0 24.1 "Formula 1 announces 23-race calendar for 2022". Formula1.com. 15 October 2021. สืบค้นเมื่อ 15 October 2021.
- ↑ "FIA Annouces [ตามต้นฉบับ] World Motor Sport Council Decisions". FIA. 15 December 2021. สืบค้นเมื่อ 19 December 2021.
- ↑ "Formula 1 to race at 22 Grands Prix in 2022 | Formula 1®". www.formula1.com (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "2019 Formula One Sporting Regulations". fia.com. 12 March 2019. pp. 3–4, 41. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2019. สืบค้นเมื่อ 27 November 2019.
- ↑ "Championship Points" (PDF). สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2022.
- ↑ "Championship Points" (PDF). สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2022.