พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์

พลตำรวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ (สกุลเดิม สุขเกษม ; 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) เป็นนายตำรวจชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์
ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
30 มิถุนายน 2543 – 30 กันยายน 2544
ก่อนหน้าพลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก
ถัดไปพลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 (84 ปี)
คู่สมรสคุณหญิง กิติมา ดุรงควิบูลย์
อาชีพตำรวจ
พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์
รับใช้ ไทย
แผนก/สังกัดกรมตำรวจ (จนถึงปี 2541)
ตำรวจตระเวนชายแดน (จนถึงปี 2529)
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตั้งแต่ปี 2541)
ประจำการพ.ศ. 2508 - 2544
ชั้นยศ พลตำรวจเอก
บังคับบัญชาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การยุทธ์การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การศึกษา

แก้
  • มัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 2
  • รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต จากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 18
  • หลักสูตรหลักประจำ โรงเรียเสนาธิการทหารบก รุ่นที่ 55
  • หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 18
  • หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 33

การทำงาน

แก้

พลตำรวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญดังนี้[1]

การรับราชการ

แก้
  • พ.ศ. 2508 - ผู้บังคับหมวด สถานีตำรวจภูธรเมืองเพชรบุรี
  • พ.ศ. 2512 - ผู้บังคับกองร้อย 1 กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนเขต 9 อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
  • พ.ศ. 2516 - รองผู้กำกับการตำรวจตระเวนชายแดน เขต 9 อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
  • พ.ศ. 2519 - ผู้กำกับอำนวยการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 4 อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
  • พ.ศ. 2519 - ผู้กำกับการตำรวจตระเวนชายแดน เขต 4 อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
  • พ.ศ. 2522 - รองผู้บังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 3 อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2524 - รองผู้บังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
  • พ.ศ. 2527 - ผู้บังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
  • พ.ศ. 2529 - ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายอำนวยการ กรมตำรวจ
  • พ.ศ. 2531 - รองหัวหน้าฝ่ายอำนวยการ กรมตำรวจ
  • พ.ศ. 2533 - หัวหน้าฝ่ายอำนวยการกรมตำรวจ
  • พ.ศ. 2535 - ผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ (ฝ่ายพัฒนา)
  • พ.ศ. 2535 - ผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ (ฝ่ายความมั่นคง)
  • พ.ศ. 2536 - ผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ (ฝ่ายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม 3)
  • พ.ศ. 2537 - ผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ หัวหน้าตำรวจภาค 1
  • พ.ศ. 2538 - รองอธิบดีกรมตำรวจ (ฝ่ายป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม 2)
  • พ.ศ. 2543 - ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Wilde, Erik (1999), "HTTP Servers", Wilde’s WWW, Springer Berlin Heidelberg, pp. 387–420, ISBN 978-3-642-95857-1, สืบค้นเมื่อ 2021-05-28
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2014-04-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๓, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2007-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๙, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๗
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เก็บถาวร 2011-11-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๗ ข หน้า ๒, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๕
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๙๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๗
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๑๒๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๓, ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๔
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๙๔ ตอนที่ ๒๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๐๐๔, ๑๖ มีนาคม ๒๕๒๐
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์[ลิงก์เสีย], เล่ม ๙๒ ตอนที่ ๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๑๕ มกราคม ๒๕๑๘
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 118 ตอนที่ 2 ข หน้า 3, 8 กุมภาพันธ์ 2544