ต้าเหลียน
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ต้าเหลียน เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยว ของมณฑลเหลียวหนิง และยังมีท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน จนได้รับการขนานนามเป็น ฮ่องกงแห่งจีนเหนือ ซึ่งครั้งหนึ่ง เคยถูกยึดครองทั้งจากญี่ปุ่น และรัสเซียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงศตวรรษที่ 20 จึงยังมีกลิ่นอายของบรรยากาศสถาปัตยกรรมแบบรัสเซียปะปนหลงเหลือให้เห็นอยู่บ้างภายในตัวเมือง
ต้าเหลียน 大连市 | |
---|---|
สถานที่ต่าง ๆ ในนครต้าเหลียน | |
ที่ตั้งของนครต้าเหลียนในมณฑลเหลียวหนิง | |
พิกัด (หน่วยงานบริหารนครต้าเหลียน): 38°54′50″N 121°36′53″E / 38.9140°N 121.6148°E | |
ประเทศ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
มณฑล | เหลียวหนิง |
ตั้งถิ่นฐาน | 1899 |
– โอนอำนาจอธิปไตยให้ญี่ปุ่น (สนธิสัญญาชิโมโนเซกิ) | 17 เมษายน 1895 |
– รัสเซียยึดครอง – ญี่ปุ่นยึดครอง | 3 มีนาคม 1898 – 2 มกราคม 1905 1905 – 15 สิงหาคม 1945 |
– โอนอำนาจอธิปไตยให้จีน | 16 เมษายน 1955 |
ศูนย์กลางการปกครอง | เขตซีกั่ง (西岗区) |
เขตการปกครองระดับเทศมณฑล | 7 เขต, 2 นครระดับเทศมณฑล, 1 เทศมณฑล |
การปกครอง | |
• เลขาธิการพรรค | ถัน จั้งจฺวิน (谭作钧) |
• นายกเทศมนตรี | เฉิน เช่าว่าง (陈绍旺) |
พื้นที่ | |
• นครระดับจังหวัด และนครระดับกิ่งมณฑล | 13,237 ตร.กม. (5,111 ตร.ไมล์) |
• พื้นดิน | 12,573.85 ตร.กม. (4,854.79 ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง (2017)[1] | 1,523.00 ตร.กม. (588.03 ตร.ไมล์) |
• เขตทั้งเจ็ด[1] | 5,244.0 ตร.กม. (2,024.7 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 29 เมตร (95 ฟุต) |
ประชากร (สำมะโนปี 2010)[3] | |
• นครระดับจังหวัด และนครระดับกิ่งมณฑล | 6,690,432 คน |
• ความหนาแน่น | 532.09 คน/ตร.กม. (1,378.1 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง (2017)[1] | 4,009,700 คน |
• | 5,943,000[2] |
• เขตทั้งเจ็ด[1] | 4,607,000 |
GDP (ราคาตลาด) 2016[2] | |
• รวม | CNY 823.42 พันล้าน USD 119.76 พันล้าน |
• ต่อหัว | CNY 117,850 USD 17,141 |
• เติบโต | 6.5% |
เขตเวลา | UTC+8 (เวลามาตรฐานจีน) |
รหัสไปรษณีย์ | 116000 |
รหัสพื้นที่ | 0411 |
รหัส ISO 3166 | CN-LN-02 |
ทะเบียนพาหนะ | 辽B |
รหัสเขตการปกครอง | 210200 |
HDI (2011) | 0.86 – สูงมาก[4] |
ชายฝั่ง | 1,906 km (1,184 mi) (ไม่รวมเกาะ) |
ดอกไม้ประจำนคร | กุหลาบจีน |
ต้นไม้ประจำนคร | สนมังกร |
เว็บไซต์ | www |
ต้าเหลียน | |||||||||||||||||||||||
"ต้าเหลียน" เขียนด้วยตัวอักษรจีนตัวย่อ (บน) และอักษรจีนตัวเต็ม (ล่าง) | |||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 大连 | ||||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 大連 | ||||||||||||||||||||||
ไปรษณีย์ | Dalny (1898–1905) Dairen (1905–1945) | ||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
ลหฺวี่ต้า (1950–1981) | |||||||||||||||||||||||
ภาษาจีน | 旅大 | ||||||||||||||||||||||
ไปรษณีย์ | Luta | ||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||||||||
ฮันกึล | 대련 | ||||||||||||||||||||||
ฮันจา | 大連 | ||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||||||||
คันจิ | 大連 | ||||||||||||||||||||||
ฮิรางานะ | だいれん | ||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษารัสเซีย | |||||||||||||||||||||||
ภาษารัสเซีย | Дальний | ||||||||||||||||||||||
อักษรโรมัน | Dalniy |
วิดีโอหลายคลิปจากแหล่งข้อมูลภายนอก | |
---|---|
Dalian Aerial Photography | |
Dalian Aerial Photography by New China TV, 2019.[5] |
ปัจจุบันต้าเหลียนมีสถานะเป็นเมืองเศรษฐกิจชายฝั่งทะเลที่สำคัญ และเจริญรุ่งเรืองมากของจีน จึงมีนักลงทุนจากต่างชาติเข้ามาลงทุนมากมาย โดยเฉพาะนักลงทุนชาวญี่ปุ่น
เมืองต้าเหลียนตั้งอยู่ที่ปลายคาบสมุทรเหลียวหนิงล้อมรอบด้วยทะเล สามด้าน และเป็นเมืองตากอากาศที่สำคัญทางภาคเหนือ
ทั้งยังเป็นเมืองที่มีความปลอดภัย และ สภาพแวดล้อมดีเลิศจนได้รับการจัดลำดับจาก สหประชาชาติให้เป็น 1 ใน 500 เมืองทั่วโลกที่มีสภาพแวดล้อมยอดเยี่ยมในปี 2001 และ จากการบริหารพัฒนาเมืองที่มีประสิทธิภาพ ต้าเหลียนจึงถูกยกฐานะเป็นเมืองต้นแบบใน การพัฒนา ให้กับเมืองต่างๆ ของจีน ตัวอย่างเช่น โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งได้ถูกทยอยย้ายออกไปอยู่นอกเมืองจนปัจจุบัน ต้าเหลียนจัดได้ว่าเป็นเมืองที่สะอาดและ อากาศดีที่สุดในจีนเหนือ
ภาพ
แก้-
ต้าเหลียน
-
จัตุรัสจงซานในต้าเหลียน
-
จัตุรัสมิตรภาพในต้าเหลียน
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 Ministry of Housing and Urban-Rural Development, บ.ก. (2019). China Urban Construction Statistical Yearbook 2017. Beijing: China Statistics Press. p. 50. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-18. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
- ↑ 2.0 2.1 2014年大连市国民经济和社会发展统计公报 (ภาษาChinese (China)). Dalian Municipal Bureau of Statistics. 19 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2015. สืบค้นเมื่อ 15 April 2015.
- ↑ 《大连市2010年第六次全国人口普查主要数据公报》[ต้องการอ้างอิงเต็มรูปแบบ]
- ↑ 人类发展指数达到0.86 大连市已进入高人类发展水平. 半岛晨报 (ภาษาChinese (China)). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2014. สืบค้นเมื่อ 29 October 2014.
- ↑ New China TV (30 June 2019). "Dalian: Light of Photography". YouTube. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.