ซีอิ๊ว เป็นเครื่องปรุงรสที่ทำจากถั่วเหลืองหมัก, เมล็ดข้าวย่าง, น้ำเกลือ และเชื้อรา Aspergillus oryzae หรือ Aspergillus sojae[1] ซีอิ๊วมีการคิดค้นมาราว 2,200 ปี ในช่วงราชวงศ์ฮั่นของจีน[2] และแพร่ขยายไปทั่วเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยใช้เป็นเครื่องปรุงอาหาร[3]

ซีอิ๊ว
ซีอิ๊ว
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวเต็ม醬油
อักษรจีนตัวย่อ酱油
ความหมายตามตัวอักษร"น้ำมันซอส"
ชื่อภาษาฮกเกี้ยน/กวางตุ้ง
ภาษาจีน豉油
ความหมายตามตัวอักษร"น้ำมันถั่วเน่า"
ชื่อภาษาพม่า
ภาษาพม่าပဲငံပြာရည်
IPA[pɛ́.ŋàɰ̃.bjà.jè]
ชื่อภาษาเวียดนาม
ภาษาเวียดนามxì dầu หรือ nước tương
ชื่อภาษาไทย
อักษรไทยซีอิ๊ว
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
간장
ความหมายตามตัวอักษร"ซอสตามฤดู"
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
คันจิ醤油
คานะしょうゆ
การถอดเสียง
เฮ็ปเบิร์นปรับปรุงshōyu
ชื่อมลายู
มลายูkicap
ชื่ออินโดนีเซีย
อินโดนีเซียkecap
ชื่อภาษาฟิลิปีโน
ตากาล็อกtoyo
ชื่อภาษาหมิ่นใต้
ภาษาหมิ่นใต้豆油 (tāu-iû)

คำว่า "ซีอิ๊ว" ในภาษาไทยมีที่มาจากภาษาแต้จิ๋ว คำว่า 豉油 (เพ็งอิม: si7 iu5, IPA: /si¹¹ iu⁵⁵/) อ่านว่า "สี่อิ๊ว"

ซีอิ๊วแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

1.ซีอิ๊วชนิดใส เรียกว่า ซีอิ๊วขาว

2.ซีอิ๊วชนิดข้น เรียกว่า ซีอิ๊วดำ

3.ซีอิ๊วชนิดใส่น้ำตาลแดง เรียกว่า ซีอิ๊วหวาน

อ้างอิง

แก้
  1. 'Microbiology Laboratory Theory and Application.' Michael Leboffe and Burton Pierce, 2nd edition. pp.317
  2. "Soy Sauce, China's Liquid Spice". www.flavorandfortune.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-08. สืบค้นเมื่อ 2016-11-07.
  3. Tanaka, Norio. "Shōyu: The Flavor of Japan," เก็บถาวร 2009-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน The Japan Foundation Newsletter Vol. XXVII, No. 2 (January 2000), p. 2.