กรุ 1 กรุ 2 กรุ 3 กรุ 4 กรุ 5

อู้... วันนี้เจอรุ้งกินน้ำแสนงามด้วยละ --Horus 23:15, 7 กรกฎาคม 2551 (ICT)

Paradise Lost

หมายถึง Paradise Lost ของมิลตันใช่ไหมคะ ถ้าได้เป็นคนแปล คงจะใช้คำว่า "สรวงสูญ" (ลิเกดีไหม :P) แต่เนื่องจากเรื่องนี้ยังไม่เคยแปลเป็นภาษาไทย (นอกจากในวิทยานิพนธ์) ดังนั้นคิดว่าถ้าจะทำบทความ น่าจะใช้ชื่อภาษาอังกฤษไปก่อนนะคะ --Tinuviel | พูดคุย 21:07, 28 พฤษภาคม 2551 (ICT)

"หายนะสรวงสวรรค์" เกรงว่าความหมายจะผิดไปไกล บทกวี Paradise Lost เป็นเรื่องเกี่ยวกับตำนานการสร้างโลก การสร้างมนุษย์คู่แรก คืออาดัม กับอีฟ การที่ซาตานล่อลวงมนุษย์ให้ทำบาป และมนุษย์ถูกไล่ออกจากสวนสวรรค์อีเดน ต้องลงมาอยู่บนโลกมนุษย์ นั่นคือความหมายของมันค่ะ "สวรรค์สูญไปเสียแล้ว" --Tinuviel | พูดคุย 21:55, 28 พฤษภาคม 2551 (ICT)

ช่าย... ถึงแปลว่า "สรวงสูญ" ไงคะ ใช้คำว่า สวรรค์หาย แล้วมันนึกถึง เรือหาย ยังไงชอบกล 555+ แต่ยังรู้สึกว่าใช้ชื่อภาษาอังกฤษไปแหละดีแล้วละ ;) --Tinuviel | พูดคุย 22:08, 28 พฤษภาคม 2551 (ICT)

ดื่มชา

หาชื่อไทยเจอแล้วครับ "ชมรมน้ำชา หัวใจจะไม่สิ้นหวัง" ทำไมชื่อเชยจัง ==" อ้อ ถ้ามันเลิกฉายแล้วก็ ไปซื้อแผ่นมาดูเองดีกว่าครับ ผมก็อยากได้ sub แบบดี ๆ ก็เลยสงสัยต้องไปซื้อต่างประเทศ ประเทศเรามีแต่ก๊อปกระมัง ^_^ --Petje Bellพูดคุย 21:16, 29 พฤษภาคม 2551 (ICT)

พี่ครับ พี่ หาเวลาเจอแล้ว คิดว่าสี่ทุ่มคืนนี้ ลองเปิดดูก่อนสิครับ ถ้าไม่เจอสงสัยจะหาผิดแฮะ :D - HBO FAMILY นะครับ ช่อง 18 --Petje Bellพูดคุย 21:47, 29 พฤษภาคม 2551 (ICT)
ใช่ ๆ พี่ มั่นใจ หนังจะเริ่มภายในสิบนาทีนี้ เปิดเร็ว ๆ นะครับ ไปก่อนล่ะครับคืนนี้ --Petje Bellพูดคุย 21:51, 29 พฤษภาคม 2551 (ICT)
ว้า อัปเกรดสิครับ --Petje Bellพูดคุย 21:52, 29 พฤษภาคม 2551 (ICT)
อ่ะนะ หนังดี ๆ ของฝรั่งต้องเป็นอย่างนี้หมด อย่าง The Sound of Music เราก็ต้องก๊อปเค้าเอา ไม่มีทางที่จะดูได้เลยนอกจากเสียเงิน... แต่อัปเกรดนะ ไม่ใช่คนตัดสินใจนะครับ พ่อต่างหากบังคับ ==" แถมพออัปเกรดเสร็จก็เลยว่าว่า "พ่ออัปเกรดให้แล้ว มีช่องภาษาอังกฤษเยอะขึ้น ต้องดูภาษาอังกฤษให้เยอะนะ เสียเงินไปตั้งเยอะ" หะ หะ ^_^ เรื่องสถานีย่อย ใส่กล่องคุณทำได้ก็ได้ครับ --Petje Bellพูดคุย 08:17, 30 พฤษภาคม 2551 (ICT)
นี่รายละเอียดครับ อยากอัดไว้ T^T แต่ว่าเครื่องมันดันเสียซะนี่ เหลือแต่พรุ่งนี้ด้วย ==" เดี๋ยวซื้อแผ่นก๊อปเค้ามาดูอีกดีกว่าครับ ยิ่งดูยิ่งอยากดูอีก ไม่รู้เป็นอะไร ติดใจมันมากเลย --Petje Bellพูดคุย 12:16, 30 พฤษภาคม 2551 (ICT)

พอดีผมเพิ่งจะลงข้อมูลเพิ่มเกี่ยวกับลูกพี่เขานิดหน่อยหน่ะครับ แต่ผมไม่มีเวลามากในการศึกษารูปแบบอ้างอิงของที่นี่ วานช่วยแก้ให้ผมหน่อยนะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 13:07, 30 พฤษภาคม 2551 (ICT)

ขอบคุณนะครับ

เพียงแต่ คุณให้เกียรติผม ผมก็ให้เกียรติคุณ เท่านั้นแหละครับ

ว่าแต่ แมคอาเทอร์ไปได้ฉายาว่า พระเจ้าแห่งสงคราม ตั้งแต่เมื่อไรเหรอครับ ผมไม่เห็นเคยได้ยินเลย ผมเข้าใจว่าคุณเขียนด้วยความต้องการให้บทความน่าสนใจ แต่ระดับ นโปเลียนที่ได้ชื่อว่า แม่ทัพบกที่เก่งที่สุดในประวัติศาสตร์ ยังไม่ได้รับการขนานนามแบบนั้นเลย

ที่เห็นก็จะมี พล.ร.อ. ยามาโมโต้ อิโซโรขุ ของสหพันธ์กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่๒แหละครับที่ได้รับการขนานนามแบบนั้น แต่มันก็เป็นเพียงการสร้างขวัญของทางนั้นเท่านั้นอ่ะครับ

นอกจากนี้ เคยอ่านเรื่อง Zipang ไหมครับ ผมสังเกตุได้อย่างว่า นี่อาจจะเป็นธรรมเนียมปฎิบัติของญี่ปุ่น แต่ไม่ใช่ของฝรั่งครับ

ในประวัติศาสตร์การทหาร มีเพียงนายพลเรือ๔ ท่านที่ได้รับเกียรติประวัติสูงสุด ถึงขั้น Undefectable (ไร้พ่าย) อยู่ ๔ ท่าน เพราะไม่เคยแพ้เลยสักหนเดียว ซึ่งผมจำชื่อไม่ได้แล้วว่ามีใครบ้าง ยกเว้น ลีซุนชิน กับอีกท่านเป็นชาวสเปน

แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ เฮโรทีโอ เนลสัน แน่นอนครับ

และทั้ง ๔ท่านนี้ ไม่มีใครได้รับเกียรติถึงขั้นเทพเจ้าสักรายครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 18:31, 30 พฤษภาคม 2551 (ICT)

ผมลองจัดหน้า สถานีย่อยดู มี แบบ๑ และ ๒ คุณลองย้อนๆดูเอานะครับว่าชอบแบบไหน แต่ผมไม่ชอบของเก่าเลยเพราะอ่านยากเพราะข้อความอธิบายรูปกับ เนื้อหามันตีกัน

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 18:46, 30 พฤษภาคม 2551 (ICT)

แหม ผมมันไม่เก่งอักษรศาสตร์เสียด้วยสิครับ ๕๕๕ ขอตอบว่าไม่ทราบครับ ลองไปถามคุณ ยูริ ดูสิครับ เห็นเธอว่าเธอเรียน อักษรศาสตร์หนิครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:07, 30 พฤษภาคม 2551 (ICT)

อะแหม... เธอ "ว่า" เธอซิ่วไปนิติฯ แล้วเหอะ

นายพลหรอคะ เป็นเจ้าหรือเปล่าคะ ถ้าไม่ใช่ก็ใช้คำสุภาพทั่วไปนี่แหละค่ะ เช่น พลเอกสนธิเกิดเมื่อวันขึ้นสิบเก้าค่ำ เดือนยี่ ปีอ้าย สัมฤทธิศก ถึงแก่อสัญกรรม (แกเคยทำหน้าที่นายกฯ ค่ะ เลยต้องใช้อสัญกรรม) เมื่อวันขึ้นแปดสิบเจ็ดค่ำ เดือนสิบสอง น้ำดองเต็มตลิ่ง บลา ๆ ๆ

——YURi | จิ๊จ๊ะ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑, ๑๙:๓๒ นาฬืกา (GMT)

เพิ่มเติืมค่ะ นี่เท่าที่รู้นะคะ แหล่้งอ้างอิงก็คือสมองของเค้าเนี่ยแหละ :

๑) ถึุงแก่กรรม - สุภาพชนทั่วไป

๒) ตาย - สัตว์

๓) ล้ม - อสูร และสัตว์ตัวควาย ๆ เช่น วัว ควาย ช้าง ไดโนเสาร์บางพันธุ์

๔) จุติ - เทวดา

๕) ดับขันธ์, เสด็จดับขันธ์, เสด็จดับขันธปรินิพพาน, นฤพาน, ปรินิพพาน, นิพพาน - พระพุทธเจ้า กะกษัตริย์ไทย

๖) ถึงแก่อนิจกรรม - คนที่ได้รับเครื่องราชฯ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย ทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

๗) ถึงแก่อสัญกรรม - ป๋าเปรม, องคมนตรี, นายกฯ, ประธานสภานิติบัญญัติ, และผู้ที่ได้รับเครื่องราชฯ ปฐมจุลจอมเกล้า

๖) ถึงแก่พิราลัย - ประมุขของรัฐที่เป็นเมืองขึ้นเขา

๗) มรณภาพ - พระและสามเณรของพุืทธ (ศาสนาอื่นคงใช้ ถึุงแก่กรรม มั้งคะ)

๘) สิ้นชีพ, สิ้นชีพิตักษัย, ถึงชีพิตักษัย - หม่อมเจ้า

๙) สิ้นพระชนม์ - ตั้งแต่พระัองค์เจ้าขึ้นไปชั้นไหนก็ได้หมด และเจ้าต่างประเทศทุกชั้น

๑๐) สวรรคต - กษัตริย์ ราชินี และมกุฎราชกุมารไทย และเจ้าไทยที่มีฉัตรเจ็ดชั้น เช่น พระพี่นาง พระเทพ

ไว้จะเขียนและหาแหล่งอ้างอิงในราชาศัพท์ภายหลังค่ะ แล้วแต่จะเลือกใช้นะคะ

——YURi | จิ๊จ๊ะ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๑, ๑๙:๔๘ นาฬืกา (GMT)

ขอบคุณครับ

จริงจริงแล้ว ไร้สาระนุกรมเรามีคนเขียนจริงจริงน้อยมากเลย จึงเรียกได้ว่าขาดแคลนหลายส่วนเลยครับ

แต่พูดถึงว่า ดูจากการที่คุณสนใจในด้านรัฐศาสตร์การทหารแล้ว ผมคิดว่า 36เกรียนยุทธ์ อาจจะเป็นที่น่าสนใจ

แต่เดิมผมตั้งใจจะเขียนออกมาให้อ่านเข้าใจง่าย เอาเรื่องบ้าๆบอๆมาประยุกต์ให้เข้ากับตัวกลยุทธ์จริง แต่เสียดายที่ผมดันทำต้นฉบับหายเลยเดินหน้าต่อไม่ได้หน่ะครับ

นอกจากนี้ยังมี สงครามครูเสด ที่มีผู้ใช้หน้าใหม่เข้ามาเขียน ซึ่งหน้านี้ไม่ขำเท่าไร แต่ว่าเป็นการสรุปสงครามครูเสดให้เข้าใจง่าย ซึ่งถ้าใครได้อ่านบทความนี้ก่อนไปจับวิกิ จะเข้าใจภาพของสงครามครูเสดได้ไวขึ้นหน่ะครับ

นอกจากนี้ ยังมี หมวดหมู่:สิ่งที่ชาววิเกรียนฯไม่มีวันทำได้ (ชาวไร้สาระฯจะเรียกชาววิกิ ว่า ชาววิเกรียนพีเดียหน่ะครับ ที่ผมสร้างให้เป็นเสน่ห์อย่างนึงของไร้สาระนุกรม

ในนั้น คุณน่าจะลองอ่าน บทความ กองทัพเรือ กับ นักศึกษาวิชาทหารดูนะครับ

สุดท้ายก็ขอขอบคุณที่ยื่นมือลงมาช่วยเหลือนะครับ แต่ช่วยไร้สาระนุกรม ก็เหมือนกับช่วยผมนั่นแหละครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 13:33, 31 พฤษภาคม 2551 (ICT)

อ่านแล้วหล่ะครับ ขอพูดตามตรงว่า ไม่ขำ แต่ก็ดีกว่าไม่มีอะไรเลยครับ แต่ลองเขียนๆดูไปเรื่อยๆ เพราะบางที มุขที่ไม่ขำเท่าไร อาจจะไปจุดประการมุขที่ขำกว่าให้คนอื่นก็ได้ครับ ลองๆเขียนมาเรื่องๆดูครับ แต่แนะนำว่า สมัครเข้ามาเลยจะสะดวกกว่านะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 14:02, 31 พฤษภาคม 2551 (ICT)

ในคำว่า "ไร้สาระ" ยังมีคำว่า "สาระ"

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 16:01, 31 พฤษภาคม 2551 (ICT)

หน้าสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

มีการกล่างถึงองค์กร Black Hand ซึ่งแปลว่า มือดำนั้น

ผมคิดว่า มือมืด น่าจะฟังดูดีกว่านะครับ

อีกทั้ง ยังให้ความรู้สึกถึง มือสังหารมากกว่าด้วย

การแปลนั้น การแปลตรงตัวตามคำ ไม่ใช่เรื่องดี ไม่ว่าจะไทยเป็นอังกฤษ หรือ อังกฤษเป็นไทย แต่ให้ทำความเข้าใจในเนื้อความแล้วอธิบายออกมาตามภาษานั้นจะดีกว่า

แต่ผมได้แก้ไปโดยพลการแล้ว ขอโทษนะครับที่ไม่แจ้งก่อน

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 20:45, 31 พฤษภาคม 2551 (ICT)

การตามแก้ชื่อบทความที่เกี่ยวกับยุทธการต่างๆ

ผมเกรงว่าถ้าไปแก้หน้านั้นๆแล้วจะส่งผลถึงหน้าอื่นๆ

ไม่ทราบว่ามีการจัดหมวดการรบเหล่านั้นเอาไว้หรือไม่ครับ แบบนี้น่าจะตามแก้ได้ง่ายกว่า

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 22:58, 31 พฤษภาคม 2551 (ICT)

บทความคุณภาพ

สวัสดีครับ โดยทั่วไป บทความคุณภาพ ก็จะผ่านตามเงื่อนไขนะครับ คือไม่มีระบุว่าต้องสนับสนุนกี่คน โดยส่วนใหญ่แล้วถ้าแก้ไขตามที่มีการเสนอแนะปรับปรุงหมด ก็น่าจะผ่านเกณฑ์ครับ โดยสามารถดูแล้วแก้ไขตามในส่วน วิกิพีเดีย:เสนอบทความคุณภาพ/สงครามโลกครั้งที่สอง --Manop | พูดคุย 08:01, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

การแปล

ส่วนที่แปลไม่ออก เก็บเอาไว้ก่อนสิครับ เดี๋ยวผมมาแปลให้ แถมไอ้ข้อมูล diameter ที่คุณลบออก มันสำคัญนะครับ

เมื่อกี้ผมเข้าไปแปลให้แล้วนิดหน่อย แต่ดันชนกัน ผมเลยว่ารอก่อนแล้วเข้าไปแก้ไขให้ดีขึ้นทีหลัง แต่อันไหนแปลไม่ออก เก้บเอาไว้ก่อนครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 11:35, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

ใช่ครับ แต่หมายถึงเส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกปืนใหญ่ ซึ่งจะระบุไปถึงอำนาจของปืนไปก้วยครับ ยิ่งใหญ่ ก็จะมีอำนาจการยิงที่รุนแรง ผมถึงได้ชี้แจงว่าสำคัญไงครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 11:48, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)


ยังไง รบกวนช่วยดึงภาษาอังกฤษส่วนที่ลบออกไปให้ด้วยได้ไหมครับ เดี๋ยวผมไปแปลให้ เพราะพูดถึงว่า ถึงจะเป็นข้อมูลส่วนน้อยนิด แต่มีๆให้ครบก็ย่อมจะดีกว่านะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 11:52, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

อ้อ ผมเห็นละ คุณกะย่อข้อมูลลงเป็นว่า อาวุธหลักคือปืนใหญ่ขนาดเท่าไร ใช่ไหมครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 11:55, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

เข้าใจแล้ว แล้วผมแปลข้อมูลเสริมให้นิดหน่อยนะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 12:01, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

ไม่ครับ ได้อังกฤษภาษาเดียว

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 12:13, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

คำแนะนำเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ ๑

อ่าคือผมยังไม่ได้เข้าไปอ่านในส่วนภาษาอังกฤษนะครับ เลยไม่รู้ว่าคุณติดขัดอะไร แต่ผมแนะนำว่า

น่าจะไปลองหาหนังสือภาษาไทยอ่านปูพื้นไปก่อนนะครับ

อย่างตอนนี้ ผมกำลังทำรายงานเกี่ยวกับการนำเอา ซิกส์ซิกมา ไปประยุกต์ใช้ใน Stability Test ซึ่งเป็นกระบวนการทาง เภษัทเคมี ผมแปลไม่รู้เรื่องเลยเพราะไม่รู้ว่าเขาหมายถึงอะไร เนื่องจากต้นฉบับเป็น วารสารทางวิชาการ สำหรับคนในวงการเภษัชกรรม จนผมต้องยกหูไปเมลเบิร์นเพื่อนถามพี่ที่ทำงานเป็นนักเคมีมา ๑๐ กว่าปีแล้ว รายงานผมถึงได้เดินเสียที

ลองดูนะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 12:32, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

อุ้ยโหยว อันนี้ เกินสติปัญญาในตอนนี้ครับ ๕๕๕ พอดีผมเองก็วางแผนจะเรียนเยอรมันเหมือนกัน แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เริ่มเลยครับ อีกนาน

แล้วผมมีแหล่งข้อมูลอื่นที่นอกเหนือจากวิกิให้ครับ

เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ http://history.howstuffworks.com/

การทหาร http://science.howstuffworks.com/military-channel.htm

๒ เวปนี้ให้ข้อมูลที่อ่านง่ายครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 13:00, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

ขำขำ

เด็กน้อยโดเกรียนของทางคุณมาเล่นสนุกที่นี่แล้วนะครับ

ขอเชิญร่วมวงได้เลยนะครับ สนุกๆ กำลังฮาขี้แตกเลยครับ

[บอร์ด:ร่วมแสดงความคิดเห็นในการทำไร้สาระนุกรมภาษาเขมร]

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 13:33, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

สถานีย่อย

โอ้ย อีกแล้ว บอกแล้วไงครับว่า แม่แบบซ้อน สมมุติว่ามันมีแต่วงเล็บเปิด ไม่มีวงเล็บปิด ก็คำนวณผลลัพธ์ไม่ได้ ฉันใดก็ฉันนั้นกับแม่แบบซ้อนนี้ กรุณาอย่าลืมนะครับ เวลาเขียน

เรื่องต่อมา การใช้การสุ่ม ลิงก์ไปแล้วให้ทำอะไรครับ คราวหน้าคราวหลังก็ช่วยบอกด้วยว่าจะให้ทำอะไร เพราะถ้าไม่บอก แล้วผมจะไปรู้ไหมว่าพี่ต้องการอันใด ==" คราวหน้าช่วยเขียนประกอบมาด้วยว่า :

๑. ปัญหา
๒. ลิงก์
๓. ความต้องการ
๔. ข้อคิดเห็น รวมถึงอย่างอื่น ๆ

คนช่วยจะได้ไม่งงนะครับ --Petje Bellพูดคุย 15:53, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

ถ้าจะให้สุ่มได้ อันนี้ต้องรื้อทั้งหน้า ใหม่หมดเลยนะครับ เพราะระบบที่สร้างมา ไม่ได้รองรับการสุ่มแต่อย่างใด --Petje Bellพูดคุย 20:28, 3 มิถุนายน 2551 (ICT)
แก้ให้แล้วก็ดูด้วยนะครับว่าแก้ให้ยังไง คราวหลังจะได้รู้วิธีแก้ การสุ่มนั้น ระบบมันก็ซับซ้อนพอสมควรสำหรับผู้เริ่มใช้ ระบบนี้คือจะใช้แบบ เนื้อหาในกล่องหนึ่งมี 10 ข้อความ เวลาสุ่ม ระบบจะทำการเลือกมา 1 ข้อความเท่านั้น และเมื่อสุ่มครั้งต่อไป ระบบก็จะเลือกข้อความอีกข้อความหนึ่งมา และถ้าจะให้ผมทำอย่างนั้น ลืมไปได้เลย เพราะว่าใช้เวลานานมากและผมมีเวลาไม่ค่อยมากแล้ว --Petje Bellพูดคุย 20:38, 3 มิถุนายน 2551 (ICT)
ไม่ทำลาย แต่จะต้องเขียนเพิ่มเป็นอีกสิบสามสิบแม่แบบครับ :) --Petje Bellพูดคุย 20:50, 3 มิถุนายน 2551 (ICT)

ถามงี้ จะหาข้อมูลเพิ่มไปเขียนสินะครับ

ในสงครามโลกครั้งที่ ๒ มี

  • จิ้งจอกทะเลทราย เออร์วิน รอมมอล อ่านว่า รอมมอลนะครับ คนไทยชอบอ่านผิดว่า รอมเมล คนๆนี้เรียกได้ว่า แม่ทัพอันดับ ๑ ของนาซีเลยหล่ะครับ
  • จอร์จ เอส แพลตตัน จอมเปรี้ยว (ต้องหาหนังประวัติแกมาดูครับ แล้วจะรู้ว่ารายนี้เปรี้ยว เอาปืนพกไปไล่ยิงเครื่องบิน ในยุทธการยกพลที่ นอร์มังดีนี่ ที่รอมมอลเก็งหวยผิด ไม่คิดว่าสัมพันธมิตรจะยกพลที่นอร์มังดี ก็เพราะไอเซนฮาว เอาแพลตตันไปตั้งกำลังลวง หลอกรอมมอลอีกด้านนึงอ่ะครับ)
  • ยามาโมโต้ อิโซโรคุ จำที่คุยเรื่องเทพเจ้าได้ใช่ไหมครับ คนๆนี้แหละที่ญี่ปุ่นเรียกว่า "เทพเจ้าแห่งกองทัพเรือ"

ตรงนี้นี่ ตัวจี๊ดที่ผมชอบนะครับ

ถ้าไปที่สงครามโลกครั้งที่ ๑ ผมไม่ได้ติดตามเท่าไร รู้จักเพียง พอล ฟอน ฮิเดนเบอร์ก คนเดียว

ความจริงแล้ว ผมชอบประวัติศาสตร์การสงครามของจีนมากกว่าครับ มีสีสันกว่าเยอะเลย อย่าง โจโฉ นี่ ผมชอบมากๆเลย แต่เกลียดเล่าปี่อ่ะ ๕๕๕๕

แต่ถ้าให้ไล่นามแม่ทัพยุคเก่าเก่งๆก็จะมี

  • นโปลีอง โบนาปัก (อันนี้เพื่อนฝรั่งเศสมันบอกว่า อ่านว่าแบบนี้หน่ะครับ แนะนำให้ตรวจสอบกับคุณยูริอีกที) เจ้าพ่อกลยุทธ์ตีเจาะ และแม่ทัพที่เก่งที่สุดในประวัติศาสตร์
  • ฮันนิบาล เจ้าพ่อแห่งการตีปีก
  • พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ มหาราช เจ้าพ่อแห่งการตีโอบ
  • ลีซุนชิน ที่ผมเคยเอาให้อ่านไงครับ
  • โอดะ โนบุนากะ คนนี้ก็ขวัญใจผมเลยนะ
  • สมเด็จพระนเรศวร มหาราช กองทัพบกไทยชอบใช้พระองค์เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องของ หลักในการธำรงค์ความมุ่งหมาย อีกทั้งทรงเชี่ยวชาญยุทธวิธีการตีกระหนาบครับ
  • สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ทั้งทหารม้า และนาวิกโยธินและนาวิกโยธินไทย นับถือในตัวพระเจ้าตากสินมากเ พราะยุทธวิธีของพระองค์ต้องตามลักษณะของ ๒ หน่วยนี้ครับ

อาวุธ อย่างที่บอกว่า ผมไม่สนใจอะไรมาก จะบอกเท่าที่รู้จักนะครับ

  • STG 44 หรือ MP44 เป็นต้นแบบของ ไรเพิลโจมตีในปัจจุบันเลยครับ ซึ่ง ทั้ง M-16 และ AK-17 ต่างก็ใช้แนวคิดของ STG44 มาสร้างทั้งคู่
  • SU-27 แฟลงเคอร์ ของรัสเซียครับ เมื่อก่อนได้ชื่อว่า มีสมรรถนะในการฝาดโผนสูงที่สุดในโลก (ไม่รู้ว่าโดนล้มไปหรือยัง)
  • MIG แนะนอน
  • Panzer 3 กะ 4 ลืมไม่ได้เลยคู่นี้ ดังมากสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ (แพนเซอร์ ในภาษาเยอรมันแปลว่า หุ้มเกราะครับ)

คราวนี้ไม่รู้ว่าคุณสนใจทางนาวีด้วยรึเปล่า เลยยังไม่พูดถึงทัพเรือก็แล้วกันนะครับ แต่ความจริงแล้ว ผมชอบกองทัพเรือมากกว่านะ แถมผมมียศเป็นว่าที่เรือตรีด้วยหล่ะ ๕๕๕๕

ถ้าการสู้รบ คงเป็น อืม พูดยากแฮะ อ้อ นึกออกละ ยุทธการโอเคฮาซามะ ที่โอดะโนบุนากะ ใช้กำลังเพียง ๒๐๐๐ ถล่มกองทัพของ อิมากาวะ โยชิโมโตะ ๔๐๐๐๐ ลงได้หน่ะครับ (ตัวเลขอาจจะมีผิดเพี้ยนไปตามตำรา แต่คร่าวๆ ราวๆ ๑๕-๒๐ ต่อ ๑

แบบว่า สำหรับผมแล้ว ไม่มีอะไรน่าประทับใจไปกว่าการเอาชนะกำลังใหญ่ด้วยกำลังน้อยหน่ะครับ มันเหมือนการทำเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ให้เป็นไปได้หน่ะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 22:07, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

ขอให้ผมสอบให้เสร็จก่อนเถอะคร้าบบบบ เรื่องพิชัยอ่ะ ยาวนะครับ ๕๕๕๕

ถ้ากองทัพเรือนี่ ผมชอบเรือดำน้ำหน่ะครับ ซึ่งความจริงแล้ว กองทัพเรือไทยอยากได้มากๆด้วย แต่เรือดำน้ำที่ได้ยินกันบ่อยๆก็จะเป็นชั้น กิโล ของจีน-โซเวียต ซีวูลฟ์ ของไอ้กัน แล้วก็ คอลลิน ของออสเตรเลียครับ (เมืองที่ผมอยู่เป็นบ้านเกิดของเรือดำน้ำชั้น คอลินส์ด้วยหล่ะ) (ทราบความหมายของคำว่าชั้นไหมครับ?)

ส่วนเรือประจันบานที่ดังๆในอดีตก็จะมี เรือ บิสมาร์ค ของเยอรมัน (ไม่ทำลิงก์ให้นะครับ ชักเริ่มขี้เกียจละ ๕๕๕) เรือหลวง ยามาโตะของกองทัพเรือสหพันธ์(ญี่ปุ่น)

อ้อ รู้ไหมครับว่า กองทัพเรือไทยเคยมีเรือดำน้ำ ๒ ลำ ที่ได้มาจากญี่ปุ่นเมื่อสงครามโลกครั้งที่๒ ในโอกาสที่ไทยยอมให้ญี่ปุ่นยาตราทัพผ่านครับ เป็นยี่ห้อ มิตซึบิชิ ครับ

ส่วนเครื่องบิน ซีโร่ ของยี่ปุ่นเองก็ ยี่ห้อ มิตซิบิชิเหมือนกัน (ไอ้ที่เรารู้จักกันทั่วไปก็ รถยี่ห้อมิตซึบิชินี่แหละครับ เจ้าเดียวกัน)

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 22:28, 1 มิถุนายน 2551 (ICT)

เสนอบทความคุณภาพ ธงชาติไทย

หากมีเวลาว่างพอก็ขอเชิญร่วมตรวจสอบบทความธงชาติไทยหน่อยนะครับว่าพอจะเหมาะสมเป็นบทความคุณภาพหรือไม่ ถ้ามีข้อเสนอแนะอย่างไรก็ว่ามาได้เลยครับ

--สุทธิพงษ์ พื้นแสน 17:50, 3 มิถุนายน 2551 (ICT)

ต่อจากสงครามลวง

ก็ต้องเป็นสงครามจิตวิทยาสินะครับ ๕๕๕๕

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 22:13, 3 มิถุนายน 2551 (ICT)

นอร์เวย์เจียน

เค้าอ่านว่า นอร์วีเจียน ไม่ใช่เหรอครับ ประกาศ ขณะนี้มีสงครามอุบัติขึ้นอีกคราแล้วในวิกิพีเดียไทยแห่งนี้ (สงครามน้ำลาย) เตรียมตัวดูละครที่มันกว่าช่อง 7 ให้ดี เพราะครั้งนี้จะทำให้พี่ลุ้นจนตัวโก่งเลย --Petje Bellพูดคุย 20:01, 4 มิถุนายน 2551 (ICT)

อัดวิดีโอหนังได้ครับพี่ อยากให้พี่ดูได้จัง เสียดาย บ้านอัดซีดีม่ะได้ (อนุรักษนิยม หุหุหุ)   --Petje Bellพูดคุย 18:21, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
Tea With Mussolini/ 40% ถ้าจะทำระบบสุ่มบทความ --Petje Bellพูดคุย 18:28, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
จบต. ถ้าไม่ทำระบบสุ่มบทความก็ 80% แล้ว แต่ถ้าทำก็นู่น หนทางยังอีกยาวไกล   --Petje Bellพูดคุย 18:39, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
จาเป็นลม... ก็ตัว emt :P ไงครับ พอดีหาเจอแต่ภาพนี้ใช้แทนตัว :P หาภาพอื่นไม่เจอ ก็เหมือนตัว :P ทางเอ็ม ไม่ได้จะล้ออะไรซะหน่อย =[]= ถ้าพี่จะทำสุ่มบทความ มันก็แค่ 40% ที่ทำไปแล้ว แต่ถ้าพี่ไม่ทำสุ่มบทความ มันก็ 80% เข้าไปแล้ว เข้าใจ๊กอ? --Petje Bellพูดคุย 18:48, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
บอกว่า ถ้าไม่ทำสุ่มบทความ = 80%; ถ้าทำสุ่มบทความ = 40%; อ้อ อีกอย่างนึงนะพี่ ไม่ต้องรีบร้อนอันใดไปหรอก อย่างผมต้องรอเป็นสามสี่เดือนกว่าจะได้เปิด ไปดูฤกษ์งามยามดีก่อนสิพี่ อย่างผม ตอนแรกนึกว่าสถานีย่อยจะเละไปแล้ว เพราะฤกษ์หามยามดีแท้ ๆ เลยที่ช่วยพยุงเอาไว้ หุหุหุ ดูไว้ก็ดีนะครับ กาลภายหน้า สถานีจะได้อยู่ยงคงกระพัน (โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่าน) --Petje Bellพูดคุย 18:55, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
คำไหนครับ จะเอาช่วยทับศัพท์เอาเหรอ ? --Petje Bellพูดคุย 19:41, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
คำว่า campaign แปลว่า ขบวนการนะครับ มันรณรงค์ยังไงครับ ? งง ไม่เข้าใจ รึว่ามีความหมายอย่างอื่นอีก ? --Petje Bellพูดคุย 19:48, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
  1. ตรงส่วน "ดูเพิ่มที่...." ให้แก้เป็นใช้แม่แบบ {{บทความหลัก}}
  2. ตรงส่วน "ดูเพิ่ม" ตอนท้าย ๆ บทความ ไม่ควรเป็นลิงก์สีแดงเกือบทั้งหมด
  3. หลาย ๆ ส่วนของบทความมีลิงก์สีแดงอยู่มาก ควรจะสร้างบทความเหล่านั้นนะครับ เพราะผู้อ่านก็อยากอ่านเพิ่มเหมือนกัน
  4. ถ้าผ่านตรงนี้ได้หมด เสนอ คัดสรร ได้เลยครับ

--Petje Bellพูดคุย 20:01, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

  • ไม่จำเป็นหรอกครับ แต่หลาย ๆ อย่าง เช่น ดูเพิ่มที่ มันสร้างความอยากอ่านต่อ แต่หลาย ๆ อันไว้ทำทีหลังก็ได้ แต่พวกลิงก์สำคัญ ๆ คนเข้ากันเยอะ ๆ นี่ ควรสร้างก่อนเลย
  • Weserzeit - เวเแซร์สายท์
  • Weserübung - เวแซร์รืบุง
  • อาจจะฟังดูแล้วตลกหน่อยนะครับ   ย้ำว่านี่ใช้กับเยอรมันเท่านั้น ภาษานอร์เวย์ห้ามใช้ เพราะว่านี่กฎการอ่านเยอรมันครับ --Petje Bellพูดคุย 20:09, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
พี่ครับ ขอร้อง Altmark อ่านว่า อัลท์มาร์ค ... ถ้าไม่ทราบก็ถามนะครับ อย่าถอดเสียงเหมือนภาษาอังกฤษเอา ... ความนัยไม่ทราบครับ ไม่แตกฉาน --Petje Bellพูดคุย 20:18, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
ภาษาเยอรมัน ตัว k ไม่มีทางออกเสียงเหมือน ก ไก่ ได้ ห้ามสะกดเด็ดขาดนะครับว่า อัลท์มาร์ก นอกจากนี้ สระยังออกเสียงดังนี้ :
  • A อา
  • E เอ
  • I อี
  • O โอ
  • U อู
  • ER แอร์
  • AU เอา
  • EI อาย
  • UR อัวร์

นอกจากนี้แล้ว พวกมีสองจุดข้างบน (อุมเล้าท์) ก็ทำให้การออกเสียงแตกต่างกันไปอีกนะครับ --Petje Bellพูดคุย 20:25, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

อ่า คือ ผมค่อยสนใจเรื่องนี้เท่าไหร่นักนะครับ แต่อ่านก็สนุกดีครับ ที่ผมสนใจเป็นพวกอังกฤษและอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่ 2 มากกว่า แต่ก็ไม่รู้ว่าจะไปอ่านตรงไหนดี --Petje Bellพูดคุย 21:07, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)
พี่ ๆ เบื่อแล้ว...ออนเอ็มเลยดีกว่าครับ ขี้เกียจคุยกันผ่านทางนี้ --Petje Bellพูดคุย 21:16, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

ชื่อในภาษาญี่ปุ่น

คราวก่อนที่ว่ามีปัญหาเรื่องชื่อในภาษาญี่ปุ่นหน่ะครับ

ตอนนี้ผมไปสมัคร วิกิญี่ปุ่นไว้เรียบร้อยแล้ว

ลำดับชื่อมาสิครับ เดี๋ยวจะไปขอให้ทางนั้นช่วยให้

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 14:51, 6 มิถุนายน 2551 (ICT)

Eastern Front and Western Front

ขอออกตัวไว้ก่อนว่า ผมไม่เก่งประวัติศาสตร์ยุโรปเท่าไร แค่งูๆปลาๆนะครับ แต่ที่คุณถามเนี่ย หมายถึง Eastern Front and Western Front รึเปล่าครับ

ถ้าใช้ ขออธิบายแนวคิดในการแบ่งคร่าวๆนะครับ ซึ่งเป็นแนวคิดที่ใช้ได้ทั้ง ครั้งที่ ๑ และ ๒

แนวรบตะวันตก ให้นับจากเยอรมัน ไปทางตะวันตก โดยมีพวกอังกฤษ-ฝรั่งเศส-อเมริกาเป็นคู่รบ (ส่วนใหญ่)

แนวรบตะวันออก ให้นับจากเยรมันไปทางตะวันออก โดยมีรัสเซีย-โซเวียตเป็นคู่รบ (ส่วนใหญ่)

แต่อันนี้ ให้ใช้เฉพาะการรบในภาคพื้นยุโรป (European Theatre) เท่านั้นนะครับ ภาคพื้นอื่น เช่น แอฟริกา เอเชีย ไม่เกี่ยว

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:56, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

ถ้าเขาไม่จัด เราก็ตามนั้นแหละครับ

ส่วนเรื่องบทความฯ ผมไม่ขอเสนอความเห็นอะไรที่นั่นนะครับ ขอเป็นว่า ให้ข้อสงสัยและความเห็นส่วนตัวแทนนะครับ แต่อะไรที่แก้ให้ได้ จะแก้ให้เลย

ก่อนจะให้ความเห็นเพิ่มเติม ผมขอ แก้บางอย่างที่ควรแก้ก่อน ตกลงไหมครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 20:38, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

ในลิงค์แดงตอนนี้คงไม่ไหวอ่ะครับ อีกอย่าง สงครามโลกครั้งที่ ๒ ผมรู้เพียงภาพรวม ไม่ได้ลงรายละเอียดอ่ะครับ แต่ตอนนี้ืั้จะไล่ให้คงเป็น คำผิดบางอย่าง เช่น กรุงนานกิน ที่ไม่ควรมีคำว่ากรุง เพราะไม่ใช้เมืองหลวง หรือคำว่า ยุทธภูมิ เป็นต้น

อย่างอื่น ขอไว้ทีหลังนะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 20:45, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

ผมแก้ในส่วนที่ผมทราบให้เรียบร้อยแล้ว

ขอชมนะครับว่า มีความพยายามสูงมาก ขนาดผมๆยังขี้เกียจอ่านทั้งหมดเลย แค่มองแบบผ่านๆ ๕๕๕๕

ผมไม่ทราบหรอกนะครับว่า อะไรคือบทความคัดสรร แต่ด้านความอุตสาหะ ผมให้ ๑๐๐%เต็มเลย

ส่วนตัวนะครับ ผมไม่สนใจเรื่องบทความคัดสรรอะไรเท่าไร ทั้งที่นี่และไร้สาระนุกรม เพราะมันไม่ได้มีผลอะไรต่อชีวิตจริง แต่ ใครทำใครได้ครับ คุณทำ คุณเขียน คุณทราบ คุณรู้ แล้วความรู้ก็จะอยู่ในสมองของคุณเองไม่หายไปไหน

และที่แน่ๆ ในเชิงรายละเอียด ผมกลับเป็นฝ่ายต้องถามคุณมากกว่าแล้วหล่ะครับ

ขอสนับสนุนการหาความรู้และถ่ายทอดออกมาครับผม

แต่อีกส่วนหนึ่งที่อยากจะขอแนะนำนะครับ ไม่เกี่ยวกับบทความ แต่เกี่ยวกับตัวคุณเอง ข้อมูลเทุกอย่างในโลกนี้ ทุกอย่างมีเบื้องหน้าและเบื้องหลังครับ

ในสงครามโลกครั้งที่๒ นาซีที่เป็นผู้แพ้ ถูกขุดเรื่องเลวร้ายขึ้นมาสารพัด แต่เรื่องเลวร้ายของฝ่ายสัมพันธมิตร กลับไม่ค่อยได้รับการกล่าวถึงสักเท่าไร ว่างๆลองหาข้อมูลเกี่ยวกับ w:war crimeดูสิครับ แล้วจะเห็นว่า คดีที่ฝั่งสัมพันธ์มิตรก่อ ไม่ได้รับการสะสาง

ในโลกแห่งข้อมูลเช่นนี้ ผู้ที่รู้จักแยกแยะจะได้เปรียบครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 21:11, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

ไม่มีความเห็นครับ แต่ ว่างๆ ลองเข้ายูทูป แล้วพิมพ์หา สงครามโลกครั้งที่ ๒ ดูสิครับ มีพวกสารคดีเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ ๒ เต็มไปหมดเลย ผมทำแบบนี้บ่อย ตอนนี้กำลังดูเกี่ยวกับยุทธการ เธอมอพิไล อยู่ครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 21:20, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

หมายถึงยุค จิ้นตะวันออกหลังยุค ๓ ก๊ก ที่ราชวงศ์จิ้นของสกุลสุมาขึ้นครองบัลลังก์ แล้วถูกพวกซุงหนูรุกรานดินแดนทางตอนเหนือถูกต่างชาตินอกด่าน รุกรานยึดครองไปทั้งหมด (เรียกว่ายุค ๕ ชนเผ่า ๑๖ อาณาจักร) ก่อนที่หยางเจียน จักรพรรดิราชวงศ์สุยจะรวมแผ่นดินตอนเหนือได้สำเร็จ (ยุคเหนือ-ใต้)แล้วกรีฑาทัพลงใต้ ใช่ไหมครับ

ถ้าในช่วงนั้น เราเรียกว่า กรุงนานกิงได้ เพราะถือว่าเป็นเมืองหลวงของรัฐจิ้นตะวันออก (และราชวงค์อื่นที่เข้ามายึดอำนาจภายหลัง) แต่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่๒ จีนมีเพียงรัฐเดียว เมืองหลวงเดียวคือ เบยจิง (ปักกิ่ง) ดังนั้น ถึงไม่ควรเรียกว่า กรุงนานกิงครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 21:46, 7 มิถุนายน 2551 (ICT)

เรามันชอบคนละด้านกันครับ ๕๕๕๕ แต่ก็นั่นแหละครับ คุณยังอายุน้อยกว่าผม มีโอกาสพัฒนาตัวเองให้เหนือกว่าผมได้ครับ ผมมันอายุเริ่มจะเยอะแล้ว (ปีนี้ ๒๖ ละ) เริ่มช้าแล้วหล่ะ แต่อย่าลืม เต็มที่กับโลกแห่งความเป็นจริงด้วยนะครับ

สิบปากว่า ไม่เท่า ๑ ตาเห็น ๑๐ ตาเห็นไม่เท่า ๑ มือคลำครับ

การอยู่กับความจริงนี่ สำคัญที่สุดครับ

ผมหวังว่าคุณจะเติบโตขึ้นเป็นคนที่ประเทศชาติพึ่งพาได้นะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 01:24, 8 มิถุนายน 2551 (ICT)

ผมได่ไปเสนอให้บทความของคุณเป็น บทความคุณภาพแล้วนะครับ แต่ ไม่ได้หมายความว่า ให้คุณหยุดพัฒนานะครับ ขอให้จำไว้ว่า รางวัล เกียรติยศ เป็นเพียงคำหวานเพื่อสรรเสริญ ให้กำลังใจ แต่เมื่อไรที่คุณหลงไปกับคำสรรเสริญเยินยอ คุณเองก็มีค่าไม่ต่างอะไรกับไอ้งั่งข้างถนนคนหนึ่ง


จงใช้กำลังใจเพื่อก้าวไปข้างหน้า แต่อย่าใช้เกียรติยศ เพื่อบอกตัวเองให้หยุดอยู่กับที่

เท่านั้น

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 01:45, 8 มิถุนายน 2551 (ICT)

สงครามโลกครั้งที่สอง

พี่ช่วยแปลเกี่ยวกับอังกฤษในสงครามโลกครั้งที่สองได้ไหมครับขอร้อง อ้อ ถ้าจะเอาอะไรเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สองก็บอกเลยนะครับ กำลังหาเรื่องน่ารู้อยู่พอดี --Petje Bellพูดคุย 20:49, 9 มิถุนายน 2551 (ICT)

ไม่เข้าใจคำถามค่ะ "รู้สึกอย่างไรกับสงคราม" หรือว่า "รู้สึกอย่างไรกับบทความสงคราม"? --Tinuviel | พูดคุย 19:36, 10 มิถุนายน 2551 (ICT)

บทความละเอียดดี ผู้แปลมีความพยายามมาก และมีความรู้เรื่องยุทธการต่างๆ ละเอียดดีมาก แต่ลิงก์แดงเยอะมากจนน่าเวียนหัว เมื่อวานเข้าไปช่วยแก้เล็กน้อย ถ้ามีเวลาจะช่วยอีก ลิงก์แดงหลายตัวยังดูประหลาดมากเพราะเป็นแค่วลี อันที่จริงน่าจะพิจารณาว่าลิงก์ไหนสำคัญหรือไม่สำคัญ ถ้าไม่ใช่เหตุการณ์สำคัญมากนักอาจตัดลิงก์ออกไปก่อนก็ได้ ให้เป็นเนื้อหาบทความธรรมดาๆ อย่างไรก็ดีเห็นว่ามีลิงก์แดงหลายตัวที่มีความสำคัญและควรทำให้เป็นลิงก์น้ำเงินเสียก่อนเพื่อให้อ่านบทความได้รู้เรื่องมากขึ้น ดังนั้นจึงยังไม่ได้ลงชื่อสนับสนุน เพราะยังอ่านบทความไม่ค่อยรู้เรื่องค่ะ ปล. ถ้าเพิ่มลิงก์แดงทั้งหมดเรียบร้อยแล้วควรส่งเป็นบทความคัดสรรเลยค่ะ --Tinuviel | พูดคุย 19:49, 10 มิถุนายน 2551 (ICT)

Home Front แปลว่าหน้าบ้านเหรอครับ ? (ฮา) --Petje Bellพูดคุย 21:02, 10 มิถุนายน 2551 (ICT)
บอกสิค้าบบบ บ่จัก --Petje Bellพูดคุย 21:12, 10 มิถุนายน 2551 (ICT)
บ่รู้จัก... เจอที่หนังสือสงครามโลกครั้งที่สองครับ... อ้อ บทความดูให้ไม่ได้แล้วล่ะครับ แม่ไล่ให้ไปนอนแล้ว ^^ --Petje Bellพูดคุย 21:19, 10 มิถุนายน 2551 (ICT)
จะให้ทำอะไรครับ --Petje Bellพูดคุย 20:27, 11 มิถุนายน 2551 (ICT)
เสียใจด้วยครับ แต่ผมแยกไม่ออกว่าอันไหนเป็นภาษาอะไร และจะทำให้การถอดเสียงผิดเพี้ยนไป --Petje Bellพูดคุย 20:33, 11 มิถุนายน 2551 (ICT)
แม่มาแหล่ว... ราตรีสวัสดิ์ครับ --Petje Bellพูดคุย 20:39, 11 มิถุนายน 2551 (ICT)

ไม่ทราบสิคะ พี่จะไม่บอกหรอกค่ะว่าต้องทำอะไรหรือไม่ทำอะไร เพราะพี่ไม่ได้เขียนบทความและไม่มีความรู้เรื่องสงครามโลกครั้งที่สองเลย จึงไม่รู้ว่า ลิงก์แดงเหล่านั้นต้องการจะโยงไปยังเหตุการณ์อะไรที่สำคัญควรแก่การเป็นสารานุกรม สำคัญที่ควรเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง หรือเปล่า? ผู้เขียนบทความคงจะรู้ดีกว่าว่าลิงก์พวกนั้นจำเป็นหรือไม่ ถ้าจำเป็นก็ควรใส่หัวข้อที่เหมาะสมเอาไว้แทนชื่อลิงก์ประหลาดๆ ถ้าไม่จำเป็นก็ควรเอาลิงก์ออกเสีย เป็นเนื้อหาธรรมดาไปก็ได้ --Tinuviel | พูดคุย 19:52, 13 มิถุนายน 2551 (ICT)

เรียบร้อยแล้วครับ --Petje Bellพูดคุย 19:40, 14 มิถุนายน 2551 (ICT)
เข้าไปแก้ไขใน สนธิสัญญาฝรั่งเศส-โซเวียต แล้ว แต่ช่วยได้แค่ย่อหน้าเดียว เพราะที่เหลืออ่านไม่รู้เรื่องเลย ไม่ใช่ศัพท์ในแวดวงที่เรารู้จักและใช้เป็นประจำ หากจะให้อ่านรู้เรื่องขนาดแปลออกมาได้คงต้องใช้เวลามากเพราะต้องไปศึกษาทำความเข้าใจกับบทความต้นฉบับเสียก่อน ขอโทษด้วยนะคะ แต่พอจะคอมเม้นต์ได้นิดๆ หน่อยๆ ค่ะ อย่างเช่นประโยค "ได้มีการเปรียบเทียบว่าสนธิสัญญาดังกล่าวนั้นเป็นมากกว่าภัยทางการทูตต่อเยอรมนีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น" เป็นประโยคภาษาไทยที่อ่านแล้วงงเป็นอันมาก ตกลงเป็นภัยมากหรือเป็นภัยน้อยกันแน่ และรู้สึกว่าจะสื่อความไม่ครบตามต้นฉบับด้วยนะคะ ประโยคถัดไปก็มีการใช้คำว่า "ไม่" ซ้อนกันสองครั้ง เป็นปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ ดูเหมือนว่าความหมายจะไม่ตรงด้วย ลองดูอีกทีนะคะ --Tinuviel | พูดคุย 20:38, 14 มิถุนายน 2551 (ICT)
สู้ๆ ค่ะ ;) --Tinuviel | พูดคุย 22:45, 14 มิถุนายน 2551 (ICT)

เรื่องเพลง

ขอบคุณนะครับที่ชม ความจริงแ้ล้ว มันไม่ใช่แค่เปิดความคิดหรอกครับ ฝรั่งเขาก็เปิด แล้วก็เถียงกันวินาศสันตะโรเหมือนกัน ไอ้อย่างการสร้างโปรเจคมาขัดแย้งกันเองนี่ ฝรั่งเขาก็มีนะครับ

ในรัฐที่พี่อยู่เนี่ยครับ รัฐบาลประจำรัฐเขาวางแผนจะสร้างโรงพยาบาลใหม่ แต่ฝ่ายค้านเขาก็ค้าน ว่าควรจะสร้างสนามกีฬาใหม่ เพื่อหาเงินเข้ากระเป๋ารัฐ

น้องครับ ทราบไหมครับว่า ออสเตรเลียเนี่ย อัตราคนจบมหาวิทยาลัย เมื่อเทียบกับเมืองไทยแล้ว น้อยกว่านะครับ แต่ประชากรของเขารู้จักคิด รู้จักแยกแยะครับ ว่าอะไรเป็นอะไร

ประเทศของเขาเลยมี รัฐสวัสดิการ ไงครับ ไม่มีไอ้ประชานิยมบ้าบอเหมือนเรา คนที่นี่ อ้อ ตกงานเหรอ มาสิ รัฐให้เงินอุดหนุนนะ ไม่มีบ้านเลยอาบน้ำไม่ได้? มาสิ มีห้องอาบน้ำให้?

แต่รัฐบอกประชาชนได้ว่า ที่มาที่ไปของเงินที่เอามาให้ประชาชนเหล่านี้ มาจากไหน (ขูดภาษีสิ่งฟุ่มเฟือยอย่างบุหรี่หนักๆสิครับพี่น้อง)

เพราะงี้ ถึงจะมีคนจบมหาลัยน้อยกว่าไทย แต่ก็ยังเจริญกว่าได้ไงครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 21:29, 13 มิถุนายน 2551 (ICT)

อ้อ ลืมบอกไป ถึงยังไงก็ช่าง การศึกษาที่นี่ จะสอนให้เด็กคิดมากกว่าท่องจำครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 21:34, 13 มิถุนายน 2551 (ICT)

เหตุผลที่เลือกออสเตรเลียนั้น ไม่ยากเลยครับ ไม่มีที่อื่นให้ไป ผมมันจบมาเกรดน้อยหน่ะครับ สมัย ป ตรี เสเพลไว้เยอะ แต่ว่า เรียนออสเตรเลีย ไม่ต้องเก่ง แค่มีตังก็ไปได้ (จริงจริงแล้ว ถูกกว่าที่อื่นด้วย)

แต่อย่างไรก็ตาม ผมเริ่มสำนึกได้หน่ะครับว่าต้องทำอะไรเพื่อตัวเองมั่งแล้ว เลยไม่เสเพลเหมือนก่อน ตั้งใจเรียน

คราวนี้ การเรียนของที่นี่ ไม่ยากเหมือนที่ไทย แต่เขาเน้นการปูพื้นฐานการค้นคว้า และการคิดให้นักศึกษามากกว่าความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอดหน่ะครับ

แต่จะเล่าอะไรต่อนี่ อ่า ยังคิดไม่ออกอ่ะครับ ไว้นึกออกจะมาเล่าให้ฟังนะครับผม

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 22:10, 13 มิถุนายน 2551 (ICT)

เทพเจ้ากรีก-โรมัน

อันที่จริงตำนานเทพเจ้าโรมันนั้นเอามาจากกรีก หลังจากเมืองทรอยแตก อีเนียสหนีไปตั้งอาณาจักรโรมัน แล้วเอาเรื่องราวเทพเจ้าดั้งเดิมของตนไปใช้ด้วย ตำนานเทพเจ้าบางองค์ในกรีก-โรมัน เหมือนกัน แต่บางตำนานก็ไม่เหมือนกัน ใจจริงคิดว่าไม่น่าจะเอามารวมกัน เพราะจะงง แต่ทำลิงก์เชื่อมโยงถึงกันและแยกให้รู้ว่าเป็นตำนานจากคนละประเทศจะดีกว่า --Tinuviel | พูดคุย 23:50, 14 มิถุนายน 2551 (ICT)

ให้ทำอะไรคะ ไม่เข้าใจ แล้วทำไมต้องมี original ด้วยละคะ ก็มันเป็นคนละบทความกันอยู่แล้วนี่นา ลองดู en:Aphrodite กับ en:Venus เป็นตัวอย่างได้ค่ะ --Tinuviel | พูดคุย 00:09, 15 มิถุนายน 2551 (ICT)

พจนานุกรมศัพท์ทหาร

สวัสดีครับ ขอแนะนำ พจนานุกรมศัพท์ทหาร น่าจะช่วยในการเขียนบทความเกี่ยวกับสงครามได้เยอะเลย --Pi@k 13:40, 16 มิถุนายน 2551 (ICT)

สวัสดีครับ

พอดีผมดู สารคดี แล้วพบว่า คำว่า เธอร์โมพิเลย์ นั้น ถอดออกมาผิด ต้องอ่านว่า เธอร์มอพิวไล อ่ะครับ ส่วน ลีโอนิดาส เขาก็อ่านว่า เลโอไนดาส หน่ะครับ

ตามนี้เลย

http://www.youtube.com/watch?v=hndsYAK07D8

ดังนั้น ขออนุญาตแก้นะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:21, 18 มิถุนายน 2551 (ICT)

ในยูทูบ มีสารคดีเกี่ยวกับสงครามโลก เยอะอยู่นะครับ ฟังภาษาอังกฤษคล่องหรือเปล่าครับ ถ้าสนใจ วันหลังถ้าเจอจะได้เอามาเผื่อให้

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:28, 18 มิถุนายน 2551 (ICT)

ไม่ครับ แต่แนะนำให้ใช้วิธีเทียบ โฟเนติก ดู จาก en:Russian_alphabet#The_alphabet ดูครับผม

ป.ล. ตอนนี้ได้แค่ ไทย-อังกฤษครับ--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:35, 18 มิถุนายน 2551 (ICT)

ผมไม่มี เคเบิลทีวีอ่ะครับ จน แต่สูบจาก ยูทูปดูประจำครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:54, 18 มิถุนายน 2551 (ICT)


เครื่องพิมพ์เลเซอร์

เกี่ยวกับ fuser assembly ยังไงครับ งง อีกอย่างหนึ่งนะครับ ถ้าถามคำศัพท์ทางประวัติศาสตร์หรือภูมิศาสตร์ผมอาจจะตอบได้บ้าง แต่เรื่องการเมือง (ซึ่งจะเกี่้ยวกับประวัติศาสตร์ยังไงก็แล้วแต่) ผมไม่รู้ --Petje Bellพูดคุย 18:55, 19 มิถุนายน 2551 (ICT)

อ้อ อีกอย่างพี่ ยังไม่มีเกสตาโปเลย ช่วยสร้างให้หน่อยเถอะครับ (ตอนนั้นหาแทบตายว่าภาษาอังกฤษเขียนว่ายังไง) --Petje Bellพูดคุย 18:58, 19 มิถุนายน 2551 (ICT)
อ๋อ แหะ แหะ --Petje Bellพูดคุย 19:20, 19 มิถุนายน 2551 (ICT)
ชื่ออันใด--Petje Bellพูดคุย 19:31, 19 มิถุนายน 2551 (ICT)
อ้าว แก้แล้วเหรอครับ ^^ ว่าจะแก้ให้วันนีั้ อย่างไรก็ตาม แนะนำ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาเยอรมัน นะครับ --Petje Bellพูดคุย 18:52, 20 มิถุนายน 2551 (ICT)
อีกอย่าง น่าจะเพิ่่มไปในคติหน่อยนะครับว่า "Never Never Give Up - Sir Winston Churchill" --Petje Bellพูดคุย 19:41, 20 มิถุนายน 2551 (ICT)
อันไหนครับ ลิสต์มาเลย พอดีผมเขียนอยู่ ขอโทษที่ตอบช้า --Petje Bellพูดคุย 19:59, 20 มิถุนายน 2551 (ICT)

สงครามโลกครั้งที่สอง

สวัสดีครับ บทความ สงครามโลกครั้งที่สอง ที่คุณ Horus มีส่วนร่วมในการเขียน ตอนนี้ได้ผ่านเกณฑ์บทความคุณภาพแล้วครับ ดังนั้นจึงสามารถนำกล่องผู้ใช้ {{GAwritten}} มาประดับไว้ที่หน้าผู้ใช้ได้นะครับ โดยไม่มีการบังคับให้ใช้แต่อย่างใด ขอบคุณมากครับที่ร่วมกันพัฒนาบทความดีๆ ให้กับวิกิพีเดียไทย --Sry85 11:03, 20 มิถุนายน 2551 (ICT)

ตกใจหมดเลย

ช่วงนี้กำลังโดนเกรียนทาสหมายอาฆาตอยู่ อุตส่าห์หลงดีใจ ได้หาเรื่องแบนคนบนนี้ ๕๕๕

คำถามเกี่ยวกับผู้บังคับหน่วย ผมไม่ค่อยเข้าใจคำถามเท่าไรอ่ะครับ แต่ การจะเรียกว่า ผู้บัญชาการ หรือผู้บังคับการนี่ แล้วแต่ที่ใช้หน่ะครับ แต่โดยมากแล้ว คำว่าผู้บัญชาการ จะใช้มากในกองทัพบก ส่วน ผู้บังคับการ จะใช้มากในกองทัพเรือ พรรคนาวินหน่ะครับ

อย่างเช่นตำแหน่งกับตันในกองทัพเรือ จะเรียกว่า ผู้บังคับการเรือ หน่ะครับ

จากหน้าการรุกรานโปแลนด์

  1. ผมว่า คำว่าการทัพ มันดูปะแล่มๆ แต่ถ้ามีที่ใช้อยู่แล้ว ก็โอเค แต่ถ้าแปลเอง ผมว่าใช้คำว่าการศึก อาจจะฟังแล้วเข้าท่ากว่า
  2. ลุควาฟเฟิล นี่คือกองทัพอากาศเยอรมัน ตามภาษาเยอรมันครับ ตรงนี้ น่าจะมีการสร้างตัวอธิบายให้คนอ่านเข้าใจ หรือไม่ก็ แปลไปเลยจะดีกว่าครับ(ถ้าไม่คิดจะเขียนตัวนี้ต่อนะ)
  3. ที่คล้ายๆกันคือ แพนเซอร์ ซึ่งตามภาษาเยอรมัน แปลว่า หุ้มเการะ แต่ก็เป็นแสลง หมายถึง ทหารม้าเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่๒ และก็เช่นกัน ควรจะมีการอธิบายว่า คืออะไร ผมรู้ว่า คุณกับผม และคนที่ตามเรื่องสงครามโลกครั้งที่๒เข้าใจ แต่คนอื่นอาจจะไม่เข้าใจนะครับ

หลักๆก็มีเท่านี้แหละครับที่คิดว่าต้องแก้ แต่ลองถามท่านอื่นดู เผื่อจะมีจุดอื่นหน่ะครับ

ป.ล. มีคำถามเล่นๆสนุกๆ ประเทศใดในยุโรป ที่วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้ากับทั้งฝ่ายอักษะและสัมพันธมิตร ทั้งๆที่ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันตก (ใบ้ให้ ติดเยอรมันเลย)

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 11:59, 21 มิถุนายน 2551 (ICT)

๕๕๕ ถูกครับ แสดงว่าแน่นจริง ส่วนเรื่องหน้าหน่วยตบเกรียนนั่น ผมย้อนการแก้ไขของคุณไปแล้วหล่ะ เพราะมันไม่จำเป็นต้องมีคำว่าฝ่ายพลเรือนหน่ะครับ แต่ก็เกือบนึกว่าเป็นการก่อเกรียนไปแล้วหล่ะ ดียังไม่ทำอะไรไป ๕๕๕๕

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 12:11, 21 มิถุนายน 2551 (ICT)

เรื่องไม่น่าเชื่อเกิดขึ้นได้

ตอนเขียน หน่วยตบเกรียน ก็ทำเอาอึ้งมาทีละ คราวนี้มาด้วย กฎเล่นการ์ดซัมมอนเนอร์มาสเตอร์ อีกเหรอครับเนี่ย ๕๕๕

อ้อ จะบอกว่า ผมเริ่มเขียนตำราพิชัยสงครามซุนวู แล้วนะครับ แต่

ท่าทางคงจะต้องย้ายไป วิกิซอร์ซ เพราะจะเขียนเต็มๆเลย

ตอนนี้อ่าน บท๑ และ ๒ เล่นๆไปก่อนนะครับ

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 19:45, 27 มิถุนายน 2551 (ICT)

ไม่รู้สิครับ พอดีช่วงนี้เตรียมสอบ เซ็งๆอ่ะครับ ๕๕๕

--ไอ้ขี้เมา แห่งไร้สาระนุกรม 20:04, 27 มิถุนายน 2551 (ICT)

สงครามมหาเอเชียบูรพากับสงครามมหาสมุทรแปซิฟิก

แท้จริงแล้ว ต่างกันที่คนตั้งครับ สงครามมหาเอเชียบูรพานั้น เป็นชื่อที่ญี่ปุ่นตั้ง แต่สงครามมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นชื่อที่อเมริกาตั้ง แต่คืออันเดียวกัน (คิดว่าคงทราบแล้ว)

แต่โดยมาก คนไทยเราคุ้นกับชื่อ สงครามมหาเอเชียบูรพา มากกว่า เนื่องจากช่วงแรกๆของสงคราม เราร่วมมือกับญี่ปุ่น เลยเรียกตามญี่ปุ่นครับ ดังนั้นจึงควรจะใช้ชื่อที่คนไทยเราคุ้นเคยมากกว่า

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 17:28, 30 มิถุนายน 2551 (ICT)

ที่ปรึกษา

ว่าไงครับ มีอะไรให้รับใช้เอ่ย --Voraprachwพูดคุย 18:40, 2 กรกฎาคม 2551 (ICT)

พอดีคนนี้เค้าเก่งเยอรมันอ่ะครับ ถ้าจะให้ช่วยแปลเป็นแบบหลาย ๆ คำหรือว่าประโยค หรือว่าทั้งบทความก็ได้   --Piazzadiscussioni 18:50, 2 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ลิงก์ข้ามภาษาอื่น

ยังไม่ได้นอนครับเมื่อวาน แต่ซ้อมเปียโนอยู่ ต้องแสดงวันนี้   จะแก้หน้าไหนครับ จะดูให้แล้วอธิบายอย่างละเอียด... ^_^ --Piazzadiscussioni 19:22, 3 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ระบุให้ชัดเจนครับว่าต้องการอะไรกันแน่ ไม่เข้าใจ --Piazzadiscussioni 19:28, 3 กรกฎาคม 2551 (ICT)
คือ มันเป็นส่วนหนึ่งของการสังคายนาวิกิพีเดียไทยรอบ 2 ตามนโยบายวิกิพีเดียไทยไม่ให้ใช้แหล่งอ้างอิงที่วิกิอังกฤษใช้ จะต้องหาแหล่งอ้างอิงมาเพิ่มเติมในบทความใหม่เอง จึงจะผ่านเกณฑ์ (งานนี้ถ้าไม่ทำ อดเป็นบทความคุณภาพ =[]=) --Piazzadiscussioni 19:34, 3 กรกฎาคม 2551 (ICT)
ถามคนที่กำหนดนโยบายครับ ผมมีหน้าที่แค่ปฎิบัติตาม แจ้งผู้อื่น ตรวจสอบและแก้ตามเท่านั้น ->>> อยากถามเรื่องนโยบาย ที่นี่ --Piazzadiscussioni 19:44, 3 กรกฎาคม 2551 (ICT)--Piazzadiscussioni 19:44, 3 กรกฎาคม 2551 (ICT)
ถ้าผมพูดภาษาโปแลนด์ได้ ผมก็เป็นอัจฉริยะแล้วครับ ไม่รู้ เพราะภาษาโปแลนด์มีอักขระพิเศษบางตัวของภาษาที่ผมไม่รู้จะอ่านยังไง และที่แน่ ๆ มันไม่เหมือนภาษาอังกฤษแน่ ทางที่ดีทิ้งไว้เป็นอักษรละตินก่อน --Piazzadiscussioni 20:21, 3 กรกฎาคม 2551 (ICT)

เรียงลำดับหมวดหมู่

สวัสดีครับ บางหน้าจะเห็นว่าหมวดหมู่มีการเรียงโดยลำดับตัวอักษรขึ้นก่อนสระ ซึ่งรูปแบบนั้นใช้ในการจัดหมวดหมู่นะครับ คุณ Horus สามารถดูเพิ่มได้ที่ {{เรียงลำดับ}} ซึ่งเป็นวิธีใหม่ที่นำมาใช้ในวิกิพีเดียแทนที่รูปแบบเดิม ซึ่งสามารถดูตัวอย่างได้ที่ ประเทศแมนจูกัว ครับ ผมเพิ่งแก้กลับไปตะกี้นี้ --Manop | พูดคุย 18:02, 6 กรกฎาคม 2551 (ICT)

สุนทรพจน์

อย่างอื่นยินดีให้ความช่วยเหลือ ยกเว้นการแปล เพราะว่าทั้งย่อหน้าผมจนปัญญาจริง ๆ ครับ   --Piazzadiscussioni 21:07, 6 กรกฎาคม 2551 (ICT)

แค่แปลหน้า บัตรเดินทางในลอนดอน ผมก็จะสิ้นเนื้อประดาตัวอยู่แล้วครับ ศัพท์ที่ใครก็ตามกล่าวสุนทรพจน์ ผมคิดว่ามันสูงเกินไปสำหรับผม ไม่ไหว... อันไหนง่าย ๆ แล้วให้ผมแปลแล้วกันนะคร้าบ ราตรีสวัสดิ์ --Piazzadiscussioni 22:24, 6 กรกฎาคม 2551 (ICT)

She's all that

บังอร เอ๊ย บังเอิญ ผ่านไปอ่าน การรุกรานโปแลนด์ หน่ะครับ แล้วสะดุดเล็กน้อย ใน "ช่วงที่ 2: การรุกรานของสหภาพโซเวียต (17 กันยายน 1939)" ประโยคที่ว่า "เยอรมนี กับประชากร 80 ล้านคนนั้น ได้รับการยอมรับจากประเทศเพื่อนบ้านในความยิ่งใหญ่ของเธอ (เยอรมนี) และมีกำลังทหารอันแข็งแกร่ง"

ลองอ่านดูแล้ว รู้สึกขัดๆไหมครับ

โดยภาษาอังกฤษ ประเทศ หรือ วัตถุ เครื่องมือ หรือ สัตว์ที่ไม่ทราบเพศ จะใช้คำว่า she/her แทนได้ครับ แต่อย่าลืมว่า ภาษาไทยไม่ใช่

จริงอยู่ว่า การแปลสุนทรพจน์ควรจะคงใจความเดิมให้ได้มากที่สุด แต่ ไม่ได้หมายความว่าจะต้องแปลตรงตัวไปเสียทุกคำพูดนี่ครับ ในความเห็นของผม ผมว่า ตัดคำว่า ของเธอ (เยอรมนี) ทิ้งไปเลย จะอ่านแล้ว เข้าใจได้ง่ายกว่านะครับ

ลองกลับไปอ่านสุนทรพจน์ตัวนั้นใหม่ แล้วตัดท่อนที่ผมว่าทิ้งไปสิครับ จะพบว่า ลื่นกว่า และ ไม่เสียใจความเลยแม้แต่น้อย

นอกจากนี้ อีกสุนทรพจน์ถัดมา ท่อนที่ว่า "โปแลนด์กับรัฐบาลของมัน" ก็คล้ายๆกับข้างบน แต่ คงรูปนั้นไว้ก็พอได้อยู่ แต่ผมคิดว่า "โปแลนด์และรัฐบาลโปแลนด์" น่าจะรื่นหูกว่า (และใจความก็ไม่หายเช่นกัน)

สุดท้าย คำปราศรัย(ใจเชือดคอ)ของฮิตเลอร์ ไม่สวยเท่าไรครับ ตรง "มันไม่ได้รับการรับรองจากทั้งเยอรมนี แต่ยังรวมไปถึง... รัสเซีย" ผมคิดว่า คุณตกคำว่า only-also ไม่ก็ ยังเน้นไม่ชัดครับ

ในความเห็นของผม คิดว่า ควรจะเป็น "มันไม่ใช่แค่ไม่ได้รับการรับรองจากเยอรมนี แต่ยังรวมไปถึง... รัสเซียอีกด้วย"

อย่างไรก็ตาม คราวนี้ไม่ถือวิสาสะแปลเอง เพราะไม่ได้คิดว่า คนแปลศึกษาข้อมูลมาดีพอ อาจจะมีเหตุผลอื่นที่เขียนดังนี้ เลยแจ้งมาเพื่อทราบครับผม

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 22:51, 6 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ลองส่งมาสิครับ ช่วงนี้ผมพอว่างอยู่ ปิดเทอมแล้ว แต่ยังอยากขี้เกียจอยู่สักพัก แต่ถ้าขอ ก้จะช่วย (ถ้าไม่เกินความสามารถนะครับ)

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 23:01, 6 กรกฎาคม 2551 (ICT)

หน้ารายนาม ผบ ในสงครามโลก อ่ะครับ ผมแจ้งลบเองอ่ะ เพราะว่า มันมีแค่นั้นเอง แถมยังไม่จัดฝ่ายให้เรียบร้อยด้วย บทความรองรับก็ไม่มี ยศของ รอมเมล ก็เขียนผิด (ผมไปแก้ให้ถูกแล้ว) เลยตัดสินใจ แจ้งลบไปหน่ะครับ ส่วนลิงก์แดงในบทความสงครามโลก๒ นั่น ถ้าคุณคนเดียวทำก็คงอีกนานแล

ผมว่าคนสนใจน้อย (ผมเองก็ไม่ได้สนใจสงครามโลกครั้งที่๒สักเท่าไรด้วยสิ ๕๕๕) แต่เอาเป็นว่า ถ้าอยากใช้ช่วยอะไรก็ลองมาคุยกับผมดูก็แล้วกันนะครับ ความจริงแล้ว ผมก็แวะๆเข้ามาดูเล่นเป็นระยะๆแหละ ถ้าผมไม่ไปท่องเที่ยวที่อื่นไกลๆ ไม่เกินวันนึงก็คงเห็นครับ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 23:15, 6 กรกฎาคม 2551 (ICT)

บทความทางการทหาร

ผมไม่มีความรู้เรื่องการทหารเลยครับ และก็ไม่รู้ภาษาโปแลนด์ด้วย (แต่จะพยายามเปิด omniglot ดู) เข้าใจว่าหน้านั้นแปลมาจากหน้าภาษาอังกฤษที่เป็น FA เอาเป็นว่าจะลองช่วยดูละกันครับ แต่ไม่คิดว่าจะช่วยอะไรได้มากเท่าไหร่ (ผมว่าแถวนี้ คนเก่งกว่าผมเยอะนะ) --KINKKUANANAS 14:52, 7 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ชวนคุยหน่อย คงไม่ว่าอะไรนะครับ

พอดีเปิดไปเจอบทความ การโจมตีสายฟ้าแลบแล้วสนใจหน่ะครับ ผมจำได้ว่า มีการกล่าวถึงการรบที่พอร์ทอาเทอร์ (ในสงครามรุซโซ-แจแปนนิส) เอาไว้อยู่ว่า เป็นการโจมตีแบบ surprise attack ซึ่งโซเวียตใช้อ้างหลังญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่๒ เพื่อชิงเอาพอร์ทอาเทอร์คืนมาจากญี่ปุ่น (ปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของมลทฑเหลียวหนิงของจีน)

นอกจากนี้ ในการโจมตีที่ อ่าวเพิล ฮาเบอร์ ก็ถูกเรียกว่า เป็น surprise attack เหมือนกัน

แล้วเจ้า surprise attack กับการโจมตีสายฟ้าแลบนี่ มันต่างกันอย่างไรเหรอครับ

ป.ล. ไม่ได้กะกวนตีนนะ ผมอยากรู้จริงจริง

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 23:50, 8 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ผมไม่แน่ใจนะครับ เพราะไม่เคยเจอตำราที่แปลความหมายของคำว่า surprise attack ตรงๆ (ผมชอบสงครามของจีนในยุคเก่ามากกว่า) ซึ่งในประวัติศาสตร์จีนนั้น ใช้คำว่า การลอบโจมตี หรือโจมตีแบบไม่ให้ตั้งตัว

คราวนี้ ผมเพิ่งไปค้นมา พบว่า การโจมตีสายฟ้าแลบ กับ การลอบโจมตีนั้น เป็นคนละเรื่องกันเลยครับ

การลอบโจมตีนั้น คือการโจมตีแบบไม่มีคำเตือนล่วงหน้า ส่วนการโจมตีสายฟ้าแลบเป็นการรบในแบบครับ

จากการดูแบบผ่านๆใน http://static3.filefront.com/ffv6/player/vp_embed.swf?v=628609&autorun=true นี้ (เจอในวิกิอังกฤษ)

ผมเข้าใจว่า นี่เป็นวิวัฒนาการอีกขั้นของรูปแบบการตีเจาะ ของนโปเลียน โบนาปาร์ท (เคยอ่านเจออีกเช่นกันว่า นาซีเอาเทคนิกการตีเจาะของแกไปพัฒนาต่อ แต่ไม่รู้รายละเอียดมากนัก)

เคยได้ยินมาว่า เวลานโปเลียนบัญชาการรบ พี่แกจะสั่งทหารเข้าโรมรันก่อน (แต่ก่อนนั้นแกคงสั่งปืนใหญ่ยิงทอนกำลังข้าศึกแล้วหล่ะ แกมาจากสายนายทหารปืนใหญ่นี่ครับ) พอรบไปได้สักพัก แกก็จะมองหาจุดอ่อนในแนวรบของข้าศึก แล้วสั่งทหารเข้าเจาะแนวข้าศึกตรงนั้นให้แหวกออก จากนั้น พอแนวข้าศึกแตก ก็เข้าล้อมข้าศึกแล้วขยี้

การโจมตีสายฟ้าแลบก็อาจจะแนวๆนี้ แต่อาจจะมีรายละเอียดอะไรที่มากกว่า

แต่สุดท้าย การโจมตีสายฟ้าแลบนั้น ข้าศึกได้ตั้งแนวป้องกันแล้ว (คิดว่านะ) แต่การลอบโจมตี ข้าศึกไม่ได้รู้เรื่องเลยว่าจะถูกโจมตี

แต่คราวนี้ถามก่อนว่าคุณรู้รึเปล่าว่า รูปแบบการรบของตะวันตก และ ตะวันออกไม่เหมือนกันหน่ะครับ (ยุคโบราณนะ เดี๋ยวนี้ก็เหมือนๆกันหมดแหละ)

พวกเราชาวตะวันออก จะถือว่าผลลัพท์คือสิ่งสำคัญที่สุด แต่พวกตะวันตกจะบ้าเกียรติยศของอัศวิน

เวลาพวกฝรั่งเขายกทัพไปรบ เขาจะตั้งกองทัพไว้หน้าเมืองก่อน เพื่อให้ข้าศึกได้ระดมพลออกมารบ แต่เราตะวันออกจะไม่รีรอ แต่ซัดเลย

ดังนั้น เราชาวตะวันออก จะเก่งเรื่องกลยุทธ์กว่าชาวตะวันตกครับ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 21:18, 9 กรกฎาคม 2551 (ICT)

เขียนอะไร

วันก่อนเขียนเรื่อง การบ้านไป ยังไงถ้าว่าง ช่วยตรวจให้หน่อยก็ดีนะครับ

วันนี้ กำลังเหนื่อยจากการโดนลากไปเที่ยวโดยเพื่อนฝูง และกำลังเศร้ากับเวลาปิดเทอมที่หายไปจากที่คิดหน่ะครับ TT

ส่วนพิชัยซุนวู กำลัง ค่อยๆเรียบเรียงไปเรื่อยๆอยู่ แบบว่า บางทีไปติดที่สำนวนจีน อ่านแล้วไม่เข้าใจหน่ะครับ เลยต้องรอเพื่อนไตหวันมาแล้วถาม

(แอบนึกเสียใจอยู่ที่พ่อเอาอีกเล่มที่ผมมีไปบริจาคโดยไม่ถาม เล่นนั้นแปลไทยมาแบบประโยคต่อประโยคเลย แถมหนังสือนั่นหน่ะ เงินเก็บผมนะนั่น เศร้าเลย ไหนจะ "ความยากลำบากของข้าพเจ้า" ที่ฮิตเลอร์เขียนอีก ยังอ่านไม่จบเลย TT)

อีกอย่าง งานเรียบเรียงนี่ ปวดหัวกว่างานแปลเยอะเลย แฮ่ๆๆ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 19:35, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

บทความการบ้านนี่ ผมแปลมาตรงๆเลยหน่ะครับ แต่ส่วนตัวแล้ว ถึงจะเหมือนกันบ้างก็ไม่น่าจะเป็นอะไรหรอกครับ ยกเว้นในบางจุดที่ไม่มีประโยชน์ต่อคนไทย เช่นว่า ในบทความ การบ้าน#แหล่งข้อมูลสำหรับการทำการบ้าน ผมละเอาไว้เพราะว่า ดูจากเนื้อหาแล้ว ไม่ตรงกับบ้านเรา เป็นของบ้านเขา เลยไม่เอาลงมา แต่คิดว่าควรจะมี เลยทิ้งไว้ให้คนอื่นมาเขียนต่อครับ

ส่วนตัวแล้ว จะเหมือนไม่เหมือน อยู่ที่ความเหมาะสมมากกว่าครับ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 19:43, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

เขียนเรื่องเดิมๆ? โกหกนั้นตายตกนรกนะครับ ขอถามอีกครับ จริง เหรอ ครับ --ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 20:04, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

อ้าว อย่างน้อยก็มีรายการสลับฉากไง คนเราถ้าทำมันแต่เรื่องเดิมๆมันก็จะทำให้เบื่อนะครับ อีกทั้งเป็นการจำกัดจินตนาการของตัวเองด้วย

นโปเลียนเคยกล่าวเอาไว้ว่า "จินตนาการปกครองโลกนะครับ"

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 20:20, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ไม่ลองเปลี่ยนบรรยากาศ ไปเขียนเกี่ยวกับอย่างอื่นที่เกี่ยวข้องกับสงครามโลกครั้งที่๒ ในส่วนที่ข้องเกี่ยวกับสงครามโลกนั้น ก็จะมีการเมือง เศรษฐกิจ เข้ามาข้องเกี่ยวด้วยนะครับ ลองๆไปเรื่องพวกนั้นดูก็ได้นะครับ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 20:28, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

เดี๋ยวนี้ก็เข้ามาเดินเล่นแถวนี้ด้วยแหละ อารมณ์ดีแล้วอาจจะเข้ามาช่วยดูนะครับ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 20:47, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

๕๕๕ พักนี้หมดมุขครับ เลยมาเขียนวิกิมั่ง เผื่อมีมุขใหม่ นี่กะว่าจะเขียน ล้อ การบ้าน ในไร้สาระต่อ เขียนเองล้อเอง เท่ดี ๕๕๕

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 20:59, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

สงครามโลกครั้งที่สอง (ต่ออีก)

ทำไมไม่ทำหนึ่งก่อนเน้อ   --Piazzadiscussioni 21:51, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ป.ล. มาคุยเรื่องสงครามกันต่อไหมครับ ^^ จะทำยังไงถ้าเป็นคนชาติไหน --Piazzadiscussioni 21:52, 12 กรกฎาคม 2551 (ICT)

คุย

คุยกันบน IRC ดีกว่าครับ เข้าที่นี่ เลือก Primary Gateway Username ให้ใส่ Horus ลงไป หลังจากนั้นเลือกห้องให้เลือก betawiki --Piazzadiscussioni 17:28, 13 กรกฎาคม 2551 (ICT)

เอ้ย ไม่ได้สิ มันเข้าไม่ได้ เข้าที่นี่แทนนะครับ ใส่ Username Horus ลงไป หลังจากนั้นกด Click to join chatroom --Piazzadiscussioni 17:30, 13 กรกฎาคม 2551 (ICT)

{{ref|Katyn|ก}} นี่คืออะไรเหรอครับ ไปเจอใน การรุกรานโปแลนด์#ภายหลังสงคราม ป.ล. วันนี้ปวดหัว เลยดูผ่านๆไปก่อน แค่ว่า เคยดูส่วนใหญ่มาแล้ว คิดว่าคงไม่มีปัญหา ถ้าเจอแล้วจะแจ้งไป หรือจัดการเองได้ ก็จะทำให้เลยนะครับ

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 19:06, 13 กรกฎาคม 2551 (ICT)

อาราย

ก็มีล้อมันทั้ง ๓ พรรคแลครับ ทั้ง ทักกี้ ตาลิ้ม ธิปปัตย์ ทำไมจะไม่มีกัน เพียงแต่ เราชอบล้อ ทักกี้ กับ ตาลิ้มมากกว่า ธิปปัตย์เลยไม่ค่อยมีบทเท่าไน

--ไอ้ขี้เมา (หว่อบู้ต่ง จงเหวิน) 21:50, 14 กรกฎาคม 2551 (ICT)

คุย

มาคุยกันที่เดิมนะครับ ตอนนี้เลย --Piazzadiscussioni 21:33, 15 กรกฎาคม 2551 (ICT)

ครับ

ตอนนี้กำลังแก้ไขการเขียนอยู่ครับ แล้วอีกไม่นานคงจะได้ตรวจสอบข้อมูลอีกที่หนึ่งครับ KeyseRroZe12:19, 16 กรกฎาคม 2551 (ICT)

  • ก็ดูจากโค้ดครับ
    [[User:==ชื่อuser|<span style="color:สี">ชื่อที่จะให้แสดง</span>]]

จบแล้วครับ KeyseRroZe19:43, 16 กรกฎาคม 2551 (ICT)

  • ครับ จะช่วยจัดการเป็นระยะๆนะครับ (ที่ร.ร.ใกล้สอบแล้วครับ) KeyseRroZe19:47, 16 กรกฎาคม 2551 (ICT)
  • เช่นกันครับ KeyseRroZe19:49, 16 กรกฎาคม 2551 (ICT)

อาณาจักรแห่งกาลเวลา

  • ขอโทษทีครับ เผอิญก๊อปติดไปด้วย เดี๋ยวจะไปแก้ให้ใหม่นะครับ ส่วนเรื่องประวัติส่วนตัวถ้ามีเวลาว่างจะเขียนให้เสร็จเลยครับ--Dmakmak 06:22, 17 กรกฎาคม 2551 (ICT)
  • ตอนนี้กำลังเขียนบทความ อาณาจักรชั้นที่สอง รบกวนช่วยเขียนเพิ่มเติมด้วยนะครับ --Dmakmak 10:09, 19 กรกฎาคม 2551 (ICT)
  • ได้ครับ แต่ไม่รู้วาจะยุ่งยากหรือเปล่า ถ้าจะอ้างอิงเป็นหน้าจะทำอย่างนี้ได้ไหม
  ข้อความ(ชื่อหนังสือ หน้า)

ตัวอย่างเช่น

  ข้อความ(ศุกร์รัตติกาล หน้า 60) --Dmakmak 18:36, 19 กรกฎาคม 2551 (ICT)
กลับไปที่หน้าผู้ใช้ของ "Horus/กรุ 2"