ความขัดแย้งภายในพม่า

ความขัดแย้งภายในพม่า หมายถึง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในประเทศพม่าปัจจุบัน ซึ่งมีมาตั้งแต่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรใน พ.ศ. 2491 รัฐบาลกลางหลายชุดต่อกันมาได้สู้รบกับกบฏเชื้อชาติและการเมืองไม่จบสิ้น ในการก่อการกำเริบช่วงแรก ๆ เกิดจากพวกนิยมซ้าย "หลายสี" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า และโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) กบฏเชื้อชาติอื่นปะทุขึ้นเฉพาะช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 หลังรัฐบาลกลางปฏิเสธรัฐบาลแบบสหพันธรัฐ อย่างไรก็ดี นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา การก่อการกำเริบด้วยอาวุธที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองค่อย ๆ หมดไปเป็นส่วนใหญ่ แต่การก่อการกำเริบด้านเชื้อชาติยังคงอยู่ และยังไม่มีทีท่ายุติ

ความขัดแย้งภายในพม่า

แผนที่สถานการณ์การทหารในพม่า พ.ศ. 2565
วันที่2 เมษายน พ.ศ. 2491[17] – ปัจจุบัน
(75 ปี 352 วัน)
สถานที่
สถานะ

กำลังดำเนินอยู่

  • ความขัดแย้งด้านเชื้อชาติขนาดใหญ่ในรัฐกะชีน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง รัฐยะไข่และรัฐฉาน
  • มีหลายกลุ่มลงนามหยุดยิงตั้งแต่ปี 2531[18]
  • รัฐธรรมนูญเมียนมาร์ พ.ศ. 2551 ตั้งเขตปกครองตนเองสำหรับชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์[19]
  • เกิดความรุนแรงเป็นระยะระหว่างกำลังรัฐบาลและผู้ก่อการกำเริบที่กำลังดำเนินอยู่
คู่สงคราม

ประเทศพม่า พม่า

สนับสนุนโดย:

อดีต:

กลุ่มพันธมิตร:
UWSP/UWSA

อดีต:

พันธมิตรฝ่ายเหนือ

กองทัพสหภาพสหพันธ์

อดีต:
กำลัง

492,000[a]

รวมในอดีต:

20,000[22]–25,000[23]

NA-B: 21,500–26,500+

~10,000

ไม่ทราบจำนวนของอีกหลายกลุ่ม

Previous totals:
ความสูญเสีย

เสียชีวิต 130,000[38]–250,000[39] คน

พลเรือน 600,000–1,000,000 คนพลัดถิ่น[40]

การก่อการกำเริบเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนหรือถูกต่างชาติบงการ ทำให้การปิดประเทศทรุดหนัก ความสงสัยและความกังวลในหมู่ชาวพม่าทั้งชนกลุ่มน้อยในประเทศและต่างประเทศ อังกฤษบางกลุ่มสนับสนุนกะเหรี่ยง ปากีสถานตะวันออก (บังกลาเทศปัจจุบัน) หนุนหลังมุสลิมโรฮีนจาตามแนวชายแดนกับการหนุนหลังของตะวันออกกลาง อินเดียกล่าวกันว่าข้องเกี่ยวกับกะชีนและกะเหรี่ยง จีนสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์พม่า (ภายหลังคือ พวกว้า) กบฏนากและกะชีน สหรัฐสนับสนุนก๊กมินตั๋ง และไทยสนับสนุนกลุ่มกบฏหลายกลุ่ม เพื่อสร้างรัฐหรือพื้นที่กันชน[41] ก่อนการหยุดยิง กองทัพที่มีชาวพม่าเป็นส่วนใหญ่ได้ดำเนินการทัพในฤดูแล้งทุกปีแต่คว้าน้ำเหลว พวกกบฏจะกลับมาทุกครั้งเมื่อกองทัพถอนกำลังกลับไป

รัฐบาลกลางที่พม่าครอบงำ (พลเรือนหรือคล้ายทหาร) ไม่สามารถบรรลุความตกลงทางการเมืองได้แม้เป้าหมายของการก่อการกำเริบทางเชื้อชาติสำคัญส่วนมาก (รวมทั้ง KNU) คือ การปกครองตนเองมิใช่การแยกตัวเป็นเอกราช ปัจจุบัน รัฐบาลได้ลงนามความตกลงหยุดยิงอย่างอึดอัดกับกลุ่มก่อการกำเริบส่วนใหญ่ แต่กองทัพยังไม่ได้รับความเชื่อใจจากประชากรท้องถิ่น กองทัพถูกกล่าวหาอย่างกว้างขวางว่าปฏิบัติต่อประชากรท้องถิ่นอย่างเลวร้ายแต่ไม่ถูกลงโทษ และถูกมองว่าเป็นกองกำลังยึดครองในภูมิภาคเชื้อชาติต่าง ๆ

สมัยปัจจุบัน ความขัดแย้งนั้นเป็นไปเพื่อต่อต้านรัฐบาลทหารซึ่งปกครองประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2505 ถึง 2554 ความขัดแย้งนี้เป็นสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก[42] และได้รับความสนใจจากนานาชาติอันเป็นผลจากการก่อการกำเริบ 8888 ใน พ.ศ. 2531, งานของนักเคลื่อนไหว ออง ซาน ซูจี, การประท้วงต่อต้านรัฐบาลในปลาย พ.ศ. 2550 และความเสียหายอันเกิดขึ้นจากพายุไซโคลนนาร์กิส ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 80,000 คน และสูญหายอีก 50,000 คน ในกลาง พ.ศ. 2551

การหยุดยิง พ.ศ. 2555 แก้

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 รัฐบาลพม่าประกาศความตกลงหยุดยิงกับกบฏกะเหรี่ยง การหยุดยิงรวมถึงความตกลงซึ่งกำหนดการสื่อสารเปิดเผยระหว่างรัฐบาลกับกบฏกะเหรี่ยง เช่นเดียวกับเปิดช่องทางปลอดภัยแก่กบฏกะเหรี่ยงในประเทศ รัฐบาลพม่าได้นิรโทษกรรมนักโทษ KNU กว่า 6,000 คน และลดโทษนักโทษอีก 38,964 คน[43]

ความตกลงสันติภาพระหว่าง KNU กับรัฐบาลพม่าเป็นหนึ่งในข้อเรียกร้องหลักโดยประเทศตะวันตกก่อนจะมีการยกเลิกการลงโทษทางเศรษฐกิจ[44]

ดูเพิ่ม แก้

เชิงอรรถ แก้

  1. Number shown includes personnel not directly involved in the conflict.[20]

อ้างอิง แก้

  1. "China's Xi Jinping Pledges Support for Myanmar's Peace Process". Radio Free Asia (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 19 January 2017.
  2. "China offers Myanmar support to end ethnic unrest near border". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 19 January 2017.
  3. Chang, Jennifer; Spencer, Kay; Staats, Jennifer (2 September 2016). "China's Role in Myanmar's Peace Process". United States Institute of Peace (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 19 January 2017.
  4. "Armies of India, Myanmar target NE militants in coordinated operation". The Economic Times. 16 June 2019. สืบค้นเมื่อ 10 June 2020.
  5. "India and Myanmar forces coordinate to destroy NE insurgent camps across border". The Indian Express (ภาษาอังกฤษ). 16 June 2019. สืบค้นเมื่อ 10 June 2020.
  6. "Burma and Russia to Increase Military Cooperation". The Irrawaddy. 21 November 2013. สืบค้นเมื่อ 29 November 2017.
  7. Kovalev, Alexey (15 September 2017). "Putin's Surprise Myanmar Challenge from Chechnya". EurasiaNet. สืบค้นเมื่อ 29 November 2017.
  8. "Russia, Myanmar Sign Military Cooperation Agreement". www.defenseworld.net. สืบค้นเมื่อ 29 November 2017.
  9. Vojni leksikon [Military Lexicon] (Beograd: Vojnoizdavacki zavod, 1981), p. 71.
  10. Bertil Lintner, Burma in Revolt: Opium and Insurgency since 1948, p. 154.
  11. NARA, RG 59, 690B.9321/12-2253, Memorandum of Conversation between General Ne Win and the Army and Air Attachés of the U.S. Embassy in Burma, 22 December 1953.
  12. Čavoški, Jovan. Arming Nonalignment: Yugoslavia's Relations with Burma and the Cold War in Asia (1950–1955). Washington, D.C.: Cold War International History Project, Woodrow Wilson International Center for Scholars, 2010. Print.
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 Richard Michael Gibson (2011). The Secret Army: Chiang Kai-shek and the Drug Warlords of the Golden Triangle. John Wiley and Sons. pp. 85–90. ISBN 978-0-470-83018-5.
  14. "The Shan Rebellion: The Road to Chaos". Drug Text. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-23. สืบค้นเมื่อ December 8, 2011.
  15. Richard Michael Gibson (2011). The Secret Army: Chiang Kai-shek and the Drug Warlords of the Golden Triangle. John Wiley and Sons. pp. 85–90. ISBN 978-0-470-83018-5.
  16. Richard, p. 88
  17. Lintner, Bertil; Wyatt (maps prepared by), David K. (1990). The rise and fall of the Communist Party of Burma (CPB). Ithaca, NY: Southeast Asia Program, Cornell University. p. 14. ISBN 0877271232. สืบค้นเมื่อ 15 December 2016.
  18. Kramer, Tom (July 2009). "Neither War Nor Peace: The Future of Cease-fire Agreements in Burma" (PDF). Amsterdam: Transnational Institute. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  19. Lwin, Sandar (17 February 2014). "New self-administered areas struggle to assert authority". The Myanmar Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-11. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
  20. International Institute for Strategic Studies; Hackett, James (ed.) (2010). The Military Balance 2010. London: Routledge, pp. 420–421. ISBN 1-85743-557-5.
  21. Heppner & Becker, 2002: 18–19
  22. Johnson, Tim (29 August 2009). China Urges Burma to Bridle Ethnic Militia Uprising at Border. The Washington Post.
  23. Davis, Anthony. "Wa army fielding new Chinese artillery, ATGMs". IHS Jane's Defence Weekly. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2015. สืบค้นเมื่อ 23 July 2015.
  24. "Myanmar's Arakan Army is Recruiting and Training to Fight Government". Voice of America. 16 October 2019. สืบค้นเมื่อ 13 May 2020.
  25. "Kachin Independence Organization (KIO)". mmpeacemonitor.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Myanmar Peace Monitor. 6 June 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2018. สืบค้นเมื่อ 12 March 2018.
  26. "47 Govt Troops Killed, Tens of Thousands Flee Heavy Fighting in Shan State". irrawaddy.org. 13 February 2015.
  27. "PSLF/TNLA". www.mmpeacemonitor.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Myanmar Peace Monitor. 6 June 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2018. สืบค้นเมื่อ 12 March 2018.
  28. Larsen, Niels (23 April 2015). "On Patrol With Myanmar Rebels Fighting Both the Army and Drug Addiction – VICE News". VICE News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). No. Crime and Drugs.
  29. 29.0 29.1 29.2 I. Rotberg, Robert (1998). Burma: Prospects for a Democratic Future. Brookings Institution Press. ISBN 0815791690.
  30. 30.0 30.1 30.2 Burma center for Ethnic Studies, Jan. 2012, "Briefing Paper No. 1" http://www.burmalibrary.org/docs13/BCES-BP-01-ceasefires(en).pdf
  31. "New Mon State Party (NMSP)". www.mmpeacemonitor.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Myanmar Peace Monitor. 6 June 2013. สืบค้นเมื่อ 15 October 2017.
  32. 32.0 32.1 32.2 32.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ MMstakeholders
  33. "All Burma Students' Democratic Front (ABSDF)". mmpeacemonitor.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Myanmar Peace Monitor. 6 June 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2018. สืบค้นเมื่อ 12 March 2018.
  34. "NDAA". www.mmpeacemonitor.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). Myanmar Peace Monitor. 6 June 2013. สืบค้นเมื่อ 12 March 2018.
  35. Pavković, 2011: 476
  36. Lintner, Bertil (1999). Burma in revolt: opium and insurgency since 1948 (2nd ed.). Chiang Mai: Silkworm Books. ISBN 978-974-7100-78-5.
  37. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ThantMyint
  38. "Modern Conflicts – Death Tolls PDF" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 July 2011.
  39. "De re militari: muertos en Guerras, Dictaduras y Genocidios". สืบค้นเมื่อ 6 October 2014.
  40. Janie Hampton (2012). Internally Displaced People: A Global Survey. London: Routledge. ISBN 978-1-136-54705-8.
  41. Steinberg, p. 44
  42. Burma: world's longest war nears its end (2009!). In Burma the war has go on from 1949, the war i Sudan start in 1955.
  43. http://www.nytimes.com/2012/01/13/world/asia/myanmar-signs-truce-with-ethnic-rebel-group.html Burmese Government and Ethnic Rebel Group Sign Cease-Fire
  44. http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-16523691 Burma government signs ceasefire with Karen rebels