กะเหรี่ยง[2] หรือ กะยีน[2] (พม่า: ကရင်; กะเหรี่ยงสะกอ: ကညီကီၢ်ဆဲၣ်; กะเหรี่ยงโป: ဖၠုံခါန်ႋကၞင့်) เป็นรัฐหนึ่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม่า มีเมืองหลักคือพะอัน

รัฐกะเหรี่ยง

ကရင်ပြည်နယ်
การถอดเสียงเป็นอักษรโรมัน
 • พม่าka.rang pranynai
ธงของรัฐกะเหรี่ยง
ธง
ที่ตั้งรัฐกะเหรี่ยงในประเทศพม่า
ที่ตั้งรัฐกะเหรี่ยงในประเทศพม่า
พิกัด: 17°0′N 97°45′E / 17.000°N 97.750°E / 17.000; 97.750
ประเทศ พม่า
ภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้
เมืองหลักพะอัน
การปกครอง
 • มุขมนตรีนางขิ่นตเวมิน (เอ็นแอลดี)
พื้นที่
 • ทั้งหมด30,382.8 ตร.กม. (11,730.9 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (พ.ศ. 2557)[1]
 • ทั้งหมด1,574,079 คน
 • ความหนาแน่น52 คน/ตร.กม. (130 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมชาวกะเหรี่ยง
ประชากรศาสตร์
 • กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง, มอญ, กะยัน, พม่า, ไทใหญ่, ปะโอ, ยะไข่, พม่าเชื้อสายไท
 • ศาสนาพุทธ, คริสต์, อิสลาม, ฮินดู, วิญญาณนิยม
เขตเวลาUTC+6:30 (เวลามาตรฐานพม่า)
รหัส ISO 3166MM-13
เว็บไซต์www.kayinstate.gov.mm

อาณาเขตติดต่อ

แก้

รัฐกะเหรี่ยงมีตำแหน่งที่ตั้ง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

การปกครองของรัฐกะเหรี่ยงมี 6 จังหวัด แต่ละจังหวัดแบ่งเป็นอำเภอรวม 7 อำเภอ ดังนี้

จังหวัด อำเภอ
อักษรไทย อักษรพม่า อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรพม่า อักษรโรมัน
 พะอัน  ဘားအံ  Hpa-An  พะอัน  ဘားအံ  Hpa-An
 ไล่ง์-บแหว่  လှိုင်းဘွဲ့  Hlaingbwe
 เมียวดี  မြဝတီ  Myawaddy  เมียวดี  မြဝတီ  Myawaddy
 ก่อกะเระ  ကော့ကရိတ်  Kawkareik  ก่อกะเระ  ကော့ကရိတ်  Kawkareik
 ผาปูน  ဖာပွန်  Hpapun  ผาปูน  ဖာပွန်  Hpapun
 ตานดองจี้  သံတောင်ကြီး  Thandaunggyi  ตานดองจี้  သံတောင်ကြီး  Thandaunggyi
 จาอี้นเซะจี้  ကြာအင်းဆိပ်ကြီး  Kyainseikgyi  จาอี้นเซะจี้  ကြာအင်းဆိပ်ကြီး  Kyainseikgyi

การคมนาคมขนส่ง

แก้

รัฐกะเหรี่ยงมีสนามบิน 2 แห่งคือ สนามบินผาปูนและสนามบินพะอัน แต่ก็ไม่ได้เปิดใช้ในกิจการสาธารณะ

ประชากร

แก้
  • ประชากร 1,431,377 คน
  • ความหนาแน่น 122 คนต่อตารางไมล์

ประเพณีท้องถิ่น

แก้
  • ตีกลองกบหรือพาสี่
  • รำตง
  • อุ่นเรือน

อ้างอิง

แก้
  1. Census Report. The 2014 Myanmar Population and Housing Census. Vol. 2. Naypyitaw: Ministry of Immigration and Population. May 2015. p. 17.
  2. 2.0 2.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.