การเมืองฝรั่งเศส
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
การเมืองฝรั่งเศส เป็นการปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย กึ่งประธานาธิบดี โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล และระบอบพรรคการเมือง รัฐบาลใช้อำนาจผ่านทางบริหาร รัฐสภาและรัฐบาลใช้อำนาจผ่านทางนิติบัญญัติ ส่วนอำนาจตุลาการเป็นอิสระจากอำนาจบริหารและนิติบัญญัติ
การเมืองฝรั่งเศส Politique en France | |
---|---|
![]() | |
ประเภทรัฐ | รัฐเดี่ยว, ระบบกึ่งประธานาธิบดี, สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ |
รัฐธรรมนูญ | รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส คริสต์ศักราช 1958 |
ฝ่ายนิติบัญญัติ | |
ชื่อ | รัฐสภา |
ประเภท | สองสภา |
สถานที่ประชุม | พระราชวังแวร์ซาย |
สภาสูง | |
ชื่อ | วุฒิสภา |
ประธาน | เฌราร์ ลาร์เชอร์ ประธานวุฒิสภา |
ผู้แต่งตั้ง | การเลือกตั้งทางอ้อม |
สภาล่าง | |
ชื่อ | สมัชชาแห่งชาติ |
ประธาน | ยาแอล โบรน-ปีแว ประธานสมัชชาแห่งชาติ |
ผู้แต่งตั้ง | การเลือกตั้งทางตรง ระบบสองรอบ |
ฝ่ายบริหาร | |
ประมุขแห่งรัฐ | |
คำเรียก | ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ |
ปัจจุบัน | แอมานุแอล มาครง |
ผู้แต่งตั้ง | การเลือกตั้งทางตรง ระบบสองรอบ |
หัวหน้ารัฐบาล | |
คำเรียก | นายกรัฐมนตรี |
ปัจจุบัน | เอลีซาแบ็ต บอร์น |
ผู้แต่งตั้ง | ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ |
คณะรัฐมนตรี | |
คำเรียก | รัฐบาล |
ชุดปัจจุบัน | คณะที่ 43 (บอร์น 1) |
หัวหน้า | นายกรัฐมนตรี |
ผู้แต่งตั้ง | ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ |
สำนักงานใหญ่ | ทำเนียบมาตีญง |
กระทรวง | 19 |
ฝ่ายตุลาการ | |
ศาล | ศาลฝรั่งเศส |
สภารัฐธรรมนูญ | |
ประธานศาล | ลอเรนต์ ฟาบีอุส |
ที่ตั้งศาล | ที่ทำการสภารัฐธรรมนูญ กรุงปารีส |
สภาแห่งรัฐ | |
ประธานศาล | เอลีซาแบ็ต บอร์น |
ที่ตั้งศาล | พระราชวังหลวง กรุงปารีส |
ศาลยุติธรรมสูงสุด | |
ประธานศาล | คริสต็อฟ ซอลาร์ด |
ที่ตั้งศาล | ที่ทำกาารศาลยุติธรรมสูงสุด กรุงปารีส |
ศาลตรวจเงินแผ่นดินภาค | |
ประธานศาล | ปีแยร์ มอสโควิซี |
ที่ตั้งศาล | ที่ทำกาารศาลตรวจเงินแผ่นดินภาค กรุงปารีส |
ประเทศฝรั่งเศส |
![]() บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของ: |
|
อื่น ๆ
|
|
ซ้าย-ขวา ในประเทศฝรั่งเศสและพรรคการเมืองสำคัญแก้ไข
ตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศส พ.ศ. 2332 ได้เกิดแนวคิดทางการเมืองขวาและซ้ายขึ้น
ฝ่ายซ้ายแก้ไข
ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 กลุ่มฝ่ายซ้ายได้แยกตัวออกเป็นปฏิรูปนิยมและปฏิวัตินิยม นอกเหนือจากพวกสาธารณรัฐนิยม พวกหัวรุนแรง พวกสังคมนิยมหัวรุนแรง และพรรค SFIO (พรรคคนงานฝรั่งเศสนานาชาติ) ของเลออง บลังม์ ส่วนพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส (PCF) ยังคงเป็นขั้วที่มีอิทธิพลเนื่องจากอยู่ฝ่ายตรงข้ามมาตั้งแต่ วิกฤตการณ์ พ.ศ. 2490 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 และ Tours Congress นำไปสู่การก่อกำเนิดของ SFIC (ต่อมาคือ PCF) ฝ่ายซ้ายได้มีอำนาจในช่วง Cartel des gauches (การผนึกกำลังของฝ่ายซ้าย) ตั้งแต่ พ.ศ. 2467 ถึง พ.ศ. 2469 และตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึง วิกฤตการณ์ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 และต่อมาอยู่ภายใต้การนำของพรรค Popular Front ในปี พ.ศ. 2489
อย่างไรก็ตามพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส (PCF) ก็ยังแข่งขันกันในปีกซ้ายเอง พวกกลุ่มซ้ายใหม่ (Seconde Gauche) รวมทั้ง Socialisme ou Barbarie ของ Cornelius Castoriadis (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 ถึง พ.ศ. 2508) พรรคการต่อสู้ของคนงาน (Lutte Ouvrière) ของ Arlette Laguiller พรรคพันธมิตรคอมมิวนิสต์ปฏิวัติ (Ligue communiste révolutionnaire) หรือการเคลื่อนไหวต่างๆ จากพวกอนาธิปไตย
บทความเกี่ยวกับการเมือง การปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |