รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย

(เปลี่ยนทางจาก Czechoslovak government-in-exile)

รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย, หรือมีชื่ออย่างเป็นการการคือ รัฐบาลชั่วคราวแห่งเชโกสโลวาเกีย (เช็ก: Prozatímní vláda Československa, สโลวัก: Dočasná vláda Československa) เป็นรัฐบาลที่จัตตั้งขึ่นโดย คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยเชโกสโลวาเกีย รัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกียได้รับการยอมรับครั้งแรกทางการทูตของอังกฤษ ชื่อนี้ถูกนำมาใช้โดยฝ่านสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองในขณะที่พวกเขารู้จักกันในภายหลัง คณะกรรมาธิการก่อตั้งขึ้นโดยอดีตประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย เอ็ดเวิร์ด เบเนช ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสในเดือนตุลาคม 1939[1] การเจรจาต่อรองกับฝรั่งเศสเกี่ยวกับสถานะการทูตไม่ประสบความสำเร็จรวมทั้งการยึดครองฝรั่งเศสของนาซี บังคับให้คณะกรรมาธิการต้องถอนตัวออกไปอยู่ในกรุงลอนดอนในปี 1940 ที่ทำการรัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกียอยู่ในสถานที่ต่าง ๆ ในลอนดอน แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ในอาคารที่เรียกว่า Fursecroft

รัฐบาลชั่วคราวแห่งเชโกสโลวาเกีย

Prozatímní státní zřízení
Dočasné štátne zriadenie
1939–1945
ตราแผ่นดินของรัฐบาลพลัดถิ่นเชโกสโลวาเกีย
ตราแผ่นดิน
เพลงชาติ
"Nad Tatrou sa blýska"
(อังกฤษ: "Lightning Over the Tatras")
สถานะรัฐบาลพลัดถิ่น
เมืองหลวงปราก (โดยนิตินัย)
Capital-in-exileปารีส (1939 -1940)
ลอนดอน (1940 - 1945)
ภาษาทั่วไปภาษาเช็ก, ภาษาสโลวัก
การปกครองสาธารณรัฐ
ประธานาธิบดี 
• 1939–1945
เอ็ดเวิร์ด เบเนช
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่สอง
30 กันยายน 1938
15 มีนาคม 1939
เมษายน 1945
ก่อนหน้า
ถัดไป
สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 2
สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 3

เป็นรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมายสำหรับเชโกสโลวาเกียตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง[2] มีภารกิจหลักคือต่อต้านรัฐบาลฟาสซิสต์โดยเฉพาะการย้อนข้อตกลงมิวนิก ที่นำไปสู่การยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี และให้อาณาเขตโดยประมาณของสาธารณรัฐกลับไปมีขนาดเท่าเดิมเมื่อปี 1937 เช่นนั้นก็ถือว่าในที่สุด โดยประเทศเหล่านั้นยอมรับว่าเป็นความต่อเนื่องตามกฎหมายของสาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1

อ้างอิง แก้

  1. Crampton, R. J. Eastern Europe in the Twentieth Century — and after. Routledge. 1997.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ End

บรรณานุกรม แก้

  • Neil Rees "The Secret History of The Czech Connection – The Czechoslovak Government in Exile in London and Buckinghamshire" compiled by Neil Rees, England, 2005. ISBN 0-9550883-0-5.
  • Mastny, Vojtech (1979). "The Czechoslovak Government-in-Exile During World War II". Jahrbücher für Geschichte Osteuropas. 27 (4): 548–63.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้