ไรส์โอวอยส์ออฟโรดีเชีย

"ไรส์โอวอยส์ออฟโรดีเชีย" (อังกฤษ: Rise, O Voices of Rhodesia หรือ Voices of Rhodesia, เสียงแห่งโรดีเชีย) เป็นเพลงชาติของโรดีเชียและซิมบับเวโรดีเชีย (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นซิมบับเวเมื่อ ค.ศ. 1980) มีสถานะรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ ระหว่าง ค.ศ. 1974 และ ค.ศ. 1979. โดยยืมทำนองเพลง "ปีติศังสกานท์" ("Ode to Joy"), เป็นผลงานของ ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน อยู่ในบทเพลงซิมโฟนีหมายเลข 9, ปัจจุบันเพลงปีติศังสกานท์ ใช้เป็น เพลงประจำสหภาพ ของ สหภาพยุโรป เมื่อ ค.ศ. 1972 (แม้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นเพลงชาติทวีปยุโรปก็ตาม) โดยมีความยาวห้องเสียงถึง 16 บาร์ เรียบเรียงโดย ร้อยเอก เคน แมคโดนัล, ผู้ควบคุมวงดุริยางค์ กรมทหารปืนเล็กยาวโรดีเชีย ทางรัฐบาลได้มีการประกวดเนื้อเพลงชาติ โดย มารี บลูมแห่งกเวรู ชนะการประกวดบทร้องของเพลงชาติ.

"ไรส์โอวอยส์ออฟโรดีเชีย"

เพลงชาติของ โรดีเชีย และ
 ซิมบับเวโรดีเชีย

ชื่ออื่น"วอยส์ออฟโรดีเชีย"[1]
เนื้อร้องมารี บลูม, 1974[1]
ทำนองลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน, 1824[2] (เรียบเรียงโดยเคน แมคดอนัลด์, 1974)
รับไปใช้สิงหาคม ค.ศ. 1974 (1974-08)[1]
เลิกใช้ธันวาคม ค.ศ. 1979 (1979-12)
ก่อนหน้าก็อดเซฟเดอะควีน
ถัดไปIshe Komborera Africa (ในฐานะเพลงชาติซิมบับเว)
ตัวอย่างเสียง
"ไรส์โอวอยส์ออฟโรดีเชีย" (บรรเลง)

ความล้มเหลวในการประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965, เมื่อโรดีเชียสถาปนาตนเองใหม่ภายใต้การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เป็นรัฐ "ซิมบับเวโรดีเชีย" ซึ่งไม่ได้รับการรับรอง ก่อนจะย้อนมาเป็นสถานะอาณานิคมโดยความตกลงแลงคัสเตอร์ในเดือนธันวาคม โดย สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ "ก็อดเซฟเดอะควีน" จึงมีสถานะเป็นเพลงชาติ ในช่วงเวลาดังกล่าว โรดีเชียมีสถานะเป็นสาธารณรัฐ เมื่อ ค.ศ. 1965, ในช่วงที่มีความผันผวนทางการเมือง โดย ก็อดเซฟเดอะควีน ใช้เพลงคำนับสำหรับพิธีการที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะพระประมุขแห่งอาณานิคมและพระราชวงศ์อังกฤษ ส่วน ไรส์โอว๊อยส์ออฟโรดีเชีย ใช้เป็นเพลงชาติ ตั้งแต่ ค.ศ. 1974. ใช้สืบเนื่องจนถึง ธันวาคม ค.ศ. 1979, ก่อนที่สหราชอาณาจักรเข้าปกครองดินแดนอาณานิคมเพียงระยะเวลาสั้นๆ ก่อนการประกาศเอกราชของซิมบับเวเพียง 5 เดือน

ประวัติ

แก้

ภูมิหลัง

แก้

เนื้อร้อง

แก้
 
น้ำตกวิคตอเรีย J. L. Fisher นักประวัติศาสตร์ผู้ประพันธ์ฉากเนื้อร้องหลัก ได้แรงบันดาลใจจาก "ภูมิทัศน์ที่งดงาม" ของประเทศ[3]

ตารางข้างล่างนี้ แสดงเนื้อร้องที่บังคับใช้:[4]

Rise, O voices of Rhodesia,
God may we Thy bounty share.
Give us strength to face all danger,
And where challenge is, to dare.
Guide us, Lord, to wise decision,
Ever of Thy grace aware,
Oh, let our hearts beat bravely always
For this land within Thy care.

Rise, O voices of Rhodesia,
Bringing her your proud acclaim,
Grandly echoing through the mountains,
Rolling o'er the far flung plain.
Roaring in the mighty rivers,
Joining in one grand refrain,
Ascending to the sunlit heavens,
Telling of her honoured name.

โอ้ ตื่นเถิด! เสียงแห่งโรดีเชีย

พระเจ้าทรงโปรดประทานพรแก่เรา

ให้กำลังเราเผชิญภัยทั้งปวง

และที่ที่ท้าทายคือกล้า

ทรงแนะนำเรา พระเจ้า ให้ตัดสินใจอย่างชาญฉลาด

ทรงทราบพระคุณของพระองค์เสมอ

ให้หฤทัยเต้นแรงเสมอ

เพื่อแผ่นดินนี้ในความดูแลของพระองค์


โอ้ ตื่นเถิด! เสียงแห่งโรดีเชีย

ทำให้เธอได้รับเสียงชื่นชมยินดี

ก้องกังวานไปทั่วขุนเขา

ไปตามที่ราบอันไกลโพ้น

คำรามในแม่น้ำอันยิ่งใหญ่

เข้าร่วมในบทหนึ่งที่ยิ่งใหญ่

เสด็จขึ้นสู่สรวงสวรรค์อันสว่างไสว

การบอกนามอันทรงเกียรติของเธอ

อ้างอิง

แก้
เชิงอรรถ
  1. 1.0 1.1 1.2 NFBPWR 1976, pp. 142–143
  2. Buch 2004, p. 1
  3. Fisher 2010, p. 60
  4. Africa research bulletin 1974, p. 3767
หนังสือพิมพ์ และ สื่อสารมวชน
  • Bullivant, Michael (12 December 2007). "Zimbabwe music lovers in harmony". The Daily Telegraph. London. สืบค้นเมื่อ 18 February 2012.
  • Nyoka, Justin V J (18 July 1970). "Smith regime doing away with last British influences". The Afro-American. Baltimore, Maryland. p. 22. สืบค้นเมื่อ 25 January 2012.
  • "Zimbabwe athlete sings own anthem". BBC. London. 19 July 2004. สืบค้นเมื่อ 18 February 2012.
  • "Rhodesia picks Ode to Joy". The Vancouver Sun. Vancouver, British Columbia: Postmedia News. 30 August 1974. p. 12. สืบค้นเมื่อ 25 January 2012.
บรรณานุกรม


แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

แม่แบบ:เพลงชาติซิมบับเว แม่แบบ:เพลงชาติของประเทศในทวีปแอฟริกา แม่แบบ:ประเทศโรดีเซีย แม่แบบ:Beethoven symphonies แม่แบบ:ซิมโฟนีหมายเลข 9