โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก

(เปลี่ยนทางจาก โรคพิษแห่งครรภ์)

โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก[8] (Preeclampsia) คือกลุ่มอาการทางการแพทย์ที่มีลักษณะคือเกิดมีภาวะความดันเลือดสูงและภาวะปัสสาวะมีโปรตีนในหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์เกินกว่า 20 สัปดาห์ และไม่มีความดันเลือดสูงมาก่อน แบ่งออกเป็นชนิดรุนแรงและไม่รุนแรง โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักมีสาเหตุจากหลายปัจจัย ปัจจุบันเชื่อว่าเกิดจากการที่มีสารที่สร้างจากรกที่พัฒนาผิดปกติไปทำให้เกิดความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุหลอดเลือดของมารดา อาการที่รุนแรงหลายอย่างของโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเกิดจากการมีความเสียหายต่อเซลล์เยื่อบุของอวัยวะต่างๆ ของมารดา รวมถึงไต และตับ

โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก
Pre-eclampsia
ชื่ออื่นPreeclampsia toxaemia (PET)
ภาพจุลภาคแสดงภาวะ hypertrophic decidual vasculopathy ซึ่งพบในภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์และโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก การย้อมสีเอชแอนด์อี
สาขาวิชาสูติศาสตร์
อาการความดันโลหิตสูง, โปรตีนในปัสสาวะ[1]
ภาวะแทรกซ้อนการสลายของเม็ดเลือดแดง, เกล็ดเลือดน้อย, การทำงานของตับบกพร่อง, ปัญหาไต, บวมน้ำ, หายใจเหนื่อยเนื่องจากมีของเหลวในปอด, โรคพิษแห่งครรภ์ระยะชัก[2][3]
การตั้งต้นหลัง 20 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์[2]
ปัจจัยเสี่ยงโรคอ้วน, เป็นความดันโลหิตสูงมาก่อน, อายุมาก, เบาหวาน[2][4]
วิธีวินิจฉัยBP ขณะหัวใจบีบตัว > 140 mmHg หรือ BP ขณะหัวใจคลายตัว > 90 mmHg เมื่อวัดสองครั้งในเวลาต่างกัน[3]
การป้องกันแอสไพริน, การเสริมแคลเซียม, การรักษาความดันโลหิตสูงที่มีมาก่อน[4][5]
การรักษาการคลอด, ยา[4]
ยาลาเบทาลอล (Labetalol), เมทิลโดปา (Methyldopa), แมกนีเซียมซัลเฟต[4][6]
ความชุก2–8% ของการตั้งครรภ์[4]
การเสียชีวิต46,900 รายที่มีความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์ (2015)[7]

การวินิจฉัย

แก้

แนะนำให้มีการตรวจหาภาวะครรภ์เป็นพิษตลอดระยะเวลาที่ตั้งครรภ์ โดยใช้การวัดความดันเลือดเป็นการคัดกรองเบื้องต้น[9]

ระบาดวิทยา

แก้

สาเหตุ

แก้

พยาธิกำเนิด

แก้

การวินิจฉัยแยกโรค

แก้

ภาวะแทรกซ้อน

แก้

การรักษาและการป้องกัน

แก้

การใช้แมกนีเซียมซัลเฟต

แก้

การควบคุมอาหาร

แก้

การออกกำลังกาย

แก้

การให้สารทางอิมมูน

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ei2012
  2. 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Al2014
  3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ACOG2013
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WHO2011
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Hend2014
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Aru2013
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GBD2015De
  8. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน เก็บถาวร 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. เรียกข้อมูลวันที่ 7 ตค. 2552.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ USPSTF2017

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
การจำแนกโรค