แฮมเมอร์
หัวข้อของบทความนี้อาจไม่ผ่านแนวปฏิบัติความโดดเด่นทั่วไป (มิถุนายน 2020) |
แฮมเมอร์ วงดนตรีไทยที่มีผลงานเพลงในแนวเพื่อชีวิตสำเนียงปักษ์ใต้ แฮมเมอร์ เป็นวงดนตรีของ 4 พี่น้องตระกูล ประธาน ซึ่งเป็นชาวไทยมุสลิมเชื้อสายปาทาน และมีแม่เป็นชาวจังหวัดนครนายก แต่ไปใช้ชีวิตอยู่ที่ภาคใต้ ซึ่งทำให้ผู้คนมักเข้าใจผิดว่าเป็นชาวปักษ์ใต้ โดยมี อารี ประธาน เป็นนักร้องนำ มีผลงานออกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จนปัจจุบัน มีเพลงที่ได้รับความนิยมและรู้จักมากมาย เช่น บินหลา, ปักษ์ใต้บ้านเรา, แม่, ฉันเป็นต้นไม้ เป็นต้น โดยชื่อ แฮมเมอร์ หมายถึงค้อนที่ทุบทำลายความอยุติธรรมต่าง ๆ และสร้างความเป็นธรรมในสังคมตลอดจนมีส่วนในการสร้างสรรวัฒนธรรมและอารยธรรมของมนุษยชาติ
แฮมเมอร์ | |
---|---|
ที่เกิด | ประเทศไทย |
แนวเพลง | เพื่อชีวิต, โฟล์ค, อะคูสติก |
ช่วงปี | พ.ศ. 2522 - ปัจจุบัน |
ค่ายเพลง | อีเอ็มไอ พีค็อก อโซน่า บีพี ออนป้า ท็อปไลน์ ดรีม เรคคอร์ด โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ อาร์ เอ็ม เอส คาราโอเกะ บีเคพี a play music |
สมาชิก | อารี ประธาน ร้องนำ อนุชา ประธาน กีต้าร์ ไวโอลิน ร้องนำ วินัย ประธาน กีตาร์ ขลุ่ย ชาลี ประธาน กลอง เพอร์คัชชัน |
ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 แฮมเมอร์ได้แต่งเพลงพิเศษขึ้นมาเพื่อถวายแด่องค์พระประมุขของชาติ ชื่อเพลง เรารักพระเจ้าอยู่หัว
ผลงานของวงแฮมเมอร์แก้ไข
แชมส์วันดวลเพลง (พ.ศ. 2521) ปักษ์ใต้บ้านเรา (พ.ศ. 2523) ค่ายพีค็อค
- ปักษ์ใต้บ้านเรา
- ชาวนา
- บุญเซิ้งบั้งไฟ
- ลมตะเภา
- เมื่อฝนแล้ง
- ชีวิตมืด
- ผีเสื้อ
- เจ้าแก้ว
- สาวชาวนา
- คืนบ้านเฮา
- เด็กบ้านนอก
- ถึกควายทุย
เข้ากรุง (พ.ศ. 2524)
- เข้ากรุง
- แสงไฟ
- ลืมนา
- กล่อมขวัญ
- รอยอดีต
- เพลงแห่งความฝัน
- เด็กน้อย
- คน
- กรุงเทพฯ
- ข่าวลือ
- ตะเกียง
ชุดพิเศษ (พ.ศ. 2524) (เพลงบรรเลงดนตรีล้วน) ชานเมือง (พ.ศ. 2524) (ผลงานเพลงลูกทุ่งชุดพิเศษซึ่งมียืนยง โอภากุลร่วมงานด้วย) หมามุ่ย (พ.ศ. 2524) นาแล้ง (พ.ศ. 2525)
- เตือนน้อง
- นาแล้ง
- ลืมสัญญา
- ไปกับพี่ ไปขี่เกวียน
- ขันหมากคนจน
- พบรักยามแลง
- อยากจะหวัง
- หนุ่มจันทึก
- ส่งเสียงกลับอีสาน
- สร้างโขง
รวมเพลงฮิต (พ.ศ. 2525)
- กรุงเทพ ฯ
- ปักษ์ใต้บ้านเรา
- ที่นี่ไม่มีครู
- คน
- ผีเสื้อ
- สาวชาวนา
- บินหลา
- เข้ากรุง
- ชาวประมง
- ลืมนา
- ชาวนา
- แม่
ยืนใจลอยคอยแฟน (พ.ศ. 2525) (เพลงลูกทุ่ง)
- ยืนใจลอยคอยแฟน
- แด่คนชื่อเจี๊ยบ
- อยู่กับความผิดหวัง
- อย่าลืมตัว
- เธอจะอยู่คอยใคร
- รักสาวฝั่งโขง
- เธอทำฉันได้
- เหลือเพียงฝัน
- อยากรู้ใจเธอ
- ดาวจ๋า
คนขายขวด (พ.ศ. 2526) หิ่งห้อย (พ.ศ. 2526) จารุณีเบอร์ 2 (พ.ศ. 2526)
- กรุงเทพราตรี
- หิ่งห้อย
- จารุณี เบอร์ 2
- จน
- ห่วง
- ขอฝน
- วอนลม
- แพน้อย
- ชีวิตชาวนา
- ใจบังเอิญ
- อยาก
- เมาทั้งนั้น
บุษบาขายถ่าน (พ.ศ. 2526)
- บุษบาขายถ่าน
- จะทำยังไง
- ถนนดนตรี
- ชาวนาครวญ
- ธรรมชาติบ้านนา
- อยากกินดาว
- ครูจ๋าอยู่ไหน
- เด็กขายพวงมาลัย
- ดอกหญ้า
- หนี
- ความหวัง
- ความเจริญ
มุ้งมิ้ง (พ.ศ. 2526) (ผลงานเดี่ยวของ อนุชา ประธาน)
- มุ้งมิ้ง
- เลิกงาน
- คนเมิน
- ช่วยบอกที
- ผืนนาหน้าแล้ง
- ข่าวลือ
- เพลงแห่งความฝัน
- ความจริง
- นกน้อยคืนรัง
- คนพเนจร
- โชคชะตา
- ชมดง
สิ้นแสงสูรย์ (พ.ศ. 2527)
- หนุ่มสาว
- สาวผมยาว
- ออกไม่ออกดี
- ศิลปิน
- ปริญญาขี่ควาย
- สุดขอบฟ้า
- สิบล้อ
- ผีเสื้อกับมาลา
- ใบยางร่วง
- สี่ล้อเล็ก
- หุบเขา
- เด็ก
- สิ้นแสงสูรย์
ถนนฝุ่นสีแดง (พ.ศ. 2527)
- น้ามาลี
- แร้ง
- หนาว
- ความเปลี่ยนแปลง
- เมื่อคืน
- เมื่อฝนแล้ง
- บทเพลงของเรา
- ถนนฝุ่นสีแดง
- ความคิด
- แด่เธอ
- คนพเนจร
- เพื่อนเอย
โรงงาน (พ.ศ. 2528)
- ช่างไม้
- โรงงาน
- ฝัน
- คนหางาน
- สนสู้ลม
- เด็กน้อย
- อีหลดอดอยาก
- ลำกระโดง
- คนกับตะเกียง
- วันนี้ไม่มีข่าว
แฮมเมอร์ 29 (พ.ศ. 2529)
- นกเขา
- ดอกไม้ปลายนา
- น้ำตาพ่อ
- สัญจร
- ไอติม
- จากบ้าน
- ปราณี
- สู้ทน
- ของขวัญ
- อีสานร็อค
เด็กกำพร้า (พ.ศ. 2530)
- เด็กบ้านนอก
- เด็กน้อย
- เด็กกำพร้า
- ช่วยบอกที
- สลัม
- เจ้าแก้ว
- ชีวิตมืด
- ตะเกียง
- คืนทุ่ง
- โชคชะตา
10 ปี แฮมเมอร์ (พ.ศ. 2530)
- ปักษ์ใต้บ้านเรา (๒)
- ไร้เดียงสา
- เข้ากรุง
- ที่นี่ไม่มีครู
- โรงงาน
- ปักษ์ใต้บ้านเรา (๑)
- บินหลา
- กรรมกร
- กลับปัตตานี
- สงคราม
ตำนานเพลงแฮมเมอร์ (พ.ศ. 2533) ฉันจะให้เธอ (พ.ศ. 2534)
- ทิ้ง...ทำไม?
- ข้ามาคนเดียว
- ฉันจะให้เธอ
- โลกสีสัน
- ไม่รีบร้อน
- สร้อยคอ
- หิว
- หลังชนฝา
- มนต์ทีวี
- ตามใจ
เจาะอดีต (พ.ศ. 2535) สะตอ (พ.ศ. 2536)
- สะตอ
- ไอ้มีน - หลับเถิด
- หวัง
- พกความรัก
- สยามนามไทย
- ผกากรอง
- ยังสู้
- เมืองไทย (สวยงาม)
- เพื่อนเกลอ
- คอยอยู่ตรงนี้
ฉันเป็นต้นไม้ (พ.ศ. 2536) กลับมาแล้ว (พ.ศ. 2537) ฆ้อนทอง (พ.ศ. 2538) ฆ้อนเพียว ๆ (พ.ศ. 2539) สามช่า อคูสติค (พ.ศ. 2540)
ผลงานภาพยนตร์แก้ไข
- ไอ้ขี้เมา (2526)
คอนเสิร์ตครั้งสำคัญแก้ไข
- 30 ปี แฮมเมอร์ แผ่นดินนี้คือไทย 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 อินดอร์สเตเดี้ยม หัวหมาก
- คอนเสิร์ตเมืองไทยสวยงาม 27 มีนาคม พ.ศ. 2553 อาคารนันทนาการ มหาวิทยาลัยรังสิต
- คอนเสร์ต ร่วมแรงร่วมใจ...สร้างบ้าน สรส. 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 อาคารนันทนาการ มหาวิทยาลัยรังสิต
อ้างอิงแก้ไข
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: แฮมเมอร์ |
- (id=8269) ประวัติวงแฮมเมอร์ เก็บถาวร 2006-05-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน