แอมโมเนียมคลอไรด์

(เปลี่ยนทางจาก แอมโมเนียม คลอไรด์)

แอมโมเนียมคลอไรด์ หรือ ซัลแอมโมเนียค (Sal Ammoniac )(สูตรเคมี แอมโมเนียม คลอไรด์ (NH4Cl); ชื่ออื่นๆ คือ nushadir salt, zalmiak, sal armagnac, sal armoniac, and salt armoniack) ในรูปบริสุทธิ์จะเป็น เกลือ ผงผลึกสีขาวละลายน้ำได้ มีรสขม ในธรรมชาติ เป็นสารที่เกิดตามแหล่ง ภูเขาไฟ เกิดเป็นหินภูเขาไฟตามปล่องภูเขาไฟ

แอมโมเนียมคลอไรด์
Unit cell of ammonium chloride
Crystalline ammonium chloride
ชื่อ
IUPAC name
Ammonium chloride
ชื่ออื่น
  • Sal ammoniac
  • Salmiac
  • Nushadir salt
  • Sal armagnac
  • Ammonium Muriate
  • Amchlor
  • Salt armoniack
  • Salmiak
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.031.976 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 235-186-4
KEGG
RTECS number
  • BP4550000
UNII
UN number 3077
  • InChI=1S/ClH.H3N/h1H;1H3 checkY
    Key: NLXLAEXVIDQMFP-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/ClH.H3N/h1H;1H3
    Key: NLXLAEXVIDQMFP-UHFFFAOYAI
  • [Cl-].[NH4+]
คุณสมบัติ
ClH4N
มวลโมเลกุล 53.49 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ White or colorless crystalline solid, hygroscopic
กลิ่น Odorless
ความหนาแน่น 1.519 g/cm3[1]
จุดหลอมเหลว 338 องศาเซลเซียส (640 องศาฟาเรนไฮต์)
Decomposes at 337.6 °C at 1 atm[2]
ΔdecompHo = 176.1 kJ/mol[3]
244 g/L (−15 °C)
294 g/L (0 °C)
383.0 g/L (25 °C)
454.4 g/L (40 °C)
740.8 g/L (100 °C)[4]
Solubility product, Ksp 30.9 (395 g/L)[5]
ความสามารถละลายได้ Soluble in liquid ammonia, hydrazine,
Slightly soluble in acetone
Insoluble in diethyl ether, ethyl acetate[2]
ความสามารถละลายได้ ใน methanol 32 g/kg (17 °C)
33.5 g/kg (19 °C)
35.4 g/kg (25 °C)[2]
ความสามารถละลายได้ ใน ethanol 6 g/L (19 °C)[6]
ความสามารถละลายได้ ใน glycerol 97 g/kg[2]
ความสามารถละลายได้ ใน sulfur dioxide 0.09 g/kg (0 °C)
0.031 g/kg (25 °C)[2]
ความสามารถละลายได้ ใน acetic acid 0.67 g/kg (16.6 °C)[2]
ความดันไอ 133.3 Pa (160.4 °C)[7]
6.5 kPa (250 °C)
33.5 kPa (300 °C)[6]
pKa 9.24
-36.7·10−6 cm3/mol[8]
1.642 (20 °C)[2]
โครงสร้าง
CsCl, cP2[9]
Pm3m, No. 221
a = 0.3876 nm
1
อุณหเคมี
84.1 J/mol·K[6]
Std molar
entropy
(S298)
94.56 J/mol·K[6]
−314.43 kJ/mol[6]
−202.97 kJ/mol[6]
เภสัชวิทยา
B05XA04 (WHO) G04BA01
ความอันตราย
GHS labelling:
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)[7]
เตือน
H302, H319[7]
P305+P351+P338[7]
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
2
0
0
จุดวาบไฟ Non-flammable
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
1650 mg/kg (rats, oral)
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
none[10]
REL (Recommended)
TWA 10 mg/m3 ST 20 mg/m3 (as fume)[10]
IDLH (Immediate danger)
N.D.[10]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 1051
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Ammonium fluoride
Ammonium bromide
Ammonium iodide
แคทไอออนอื่น ๆ
Sodium chloride
Potassium chloride
Hydroxylammonium chloride
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แต่เดิมแอมโมเนียมคลอไรด์มีชื่อเรียกว่าน้ำประสานดีบุก ใช้เป็นน้ำประสานเหล็กกับดีบุก แต่เดิมได้จากกากที่เหลือจากเตาเผาอิฐที่ใช้มูลสัตว์ นำมาละลายน้ำร้อนกรองแล้วทิ้งให้น้ำระเหย จะได้น้ำประสานดีบุกในรูปผง โบราณใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ขับเสมหะ ใช้ประสมในยานัตถุ์[11]

ประโยชน์ (Uses)

แก้

ตามประวัติศาสตร์มันถูกจัดเป็นหนึ่งในสี่หัวใจ การเล่นแร่แปรธาตุ เมื่อแตกตัวมันจะให้วัสดุที่มีพลัง การกัดกร่อน สูงสองตัว คือ แอมโมเนีย และ กรดเกลือ ที่สามารถละลาย โลหะ ได้ ซึ่งนักเล่นแร่แปลธาตุมักจะใช้เปลี่ยนโลหะให้เป็นอย่างอื่น, ชาวอาหรับ ใช้มันเป็นแหล่ง แอมโมเนีย:

2NH4Cl + 2CaO → CaCl2 + Ca(OH)2 + 2NH3

มันใช้ในการผลิต แอมโมเนียมเปอร์คลอเรต (ammonium perchlorate) (NH4ClO4):

NaClO4 + NH4Cl → NH4ClO4 + NaCl

แอมโมเนียม คลอไรด์ใช้ทำความสะอาดหัวแร้งบัดกรี ใช้เป็นอาหารเสริมในปศุสัตว์ เป็นส่วนผสมของ แชมพู สระผมใช้ผสมหมึกพิมพ์ใน อุตสาหกรรมผ้า ในกาวผลิตไม้อัด ส่วนผสมในอาหารยีสต์ ผสมในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดส่วนผสมในยาแก้ไอเนื่องมีฤทธิ์ ขับเสมหะ (expectorant)

อ้างอิง

แก้
  1. Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. p. 4.46. ISBN 1439855110.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 ammonium chloride เก็บถาวร 23 กรกฎาคม 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Chemister.ru (2007-03-19). Retrieved on 2018-01-23.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Wiberg&Holleman
  4. Seidell, Atherton; Linke, William F. (1919). Solubilities of Inorganic and Organic Compounds (2nd ed.). D. van Nostrand Company.
    Results here are multiplied by water's density at temperature of solution for unit conversion.
  5. "Solubility Products of Selected Compounds". Salt Lake Metals. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 ตุลาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2014.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 Pradyot, Patnaik (2003). Handbook of Inorganic Chemicals. The McGraw-Hill Companies, Inc. ISBN 978-0-07-049439-8.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Sigma-Aldrich Co., Ammonium chloride. Retrieved on 2014-06-11.
  8. Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. p. 4.131. ISBN 1439855110.
  9. Breñosa, A.G; Rodríguez, F; Moreno, M (1993). "Phase transition temperatures and thermal hysteresis in NH4Cl1−xBrx (x≤0.05) crystals determined through charge transfer spectra of Cu2+(II) centres". Solid State Communications. 85 (2): 135. Bibcode:1993SSCom..85..135B. doi:10.1016/0038-1098(93)90362-Q.
  10. 10.0 10.1 10.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0029". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  11. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.

ดูเพิ่ม

แก้