เมทานอล
เมทานอล (อังกฤษ: methanol) หรือ เมทิลแอลกอฮอล์ (อังกฤษ: methyl alcohol) มีสูตรโครงสร้างแบบย่อ CH3OH เป็นของเหลวใส ระเหยง่าย เป็นพิษ นิยมใช้เป็นตัวทำละลาย และใช้เป็นเชื้อเพลิง ในธรรมชาติ เมทานอลเป็นผลิตภัณฑ์จากการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนของแบคทีเรียหลายชนิด (ดูการผลิตเมทานอลจากของเสียเพื่อทำเป็นก๊าซชีวภาพ) ซึ่งเมทานอลจะระเหยออกสู่อากาศภายนอก แล้วสลายตัวได้คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ
หากเราเผาเมทานอลกับอากาศ จะได้คาร์บอนไดออกไซด์กับน้ำ ดังสมการด้านล่างนี้
| |||
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
Methanol[1] | |||
ชื่ออื่น
Carbinol
Columbian spirits Hydroxymethane MeOH Methyl alcohol Methyl hydroxide Methylic alcohol Methylol Methylene hydrate, primary alcohol Pyroligneous spirit Wood alcohol Wood naphtha Wood spirit | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
3DMet | |||
1098229 | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.000.599 | ||
EC Number |
| ||
449 | |||
KEGG | |||
MeSH | Methanol | ||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 1230 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
CH 3OH or CH 4O | |||
มวลโมเลกุล | 32.04 g mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวไม่มีสี | ||
กลิ่น | เจือจางและคล้ายกับเอทานอล | ||
ความหนาแน่น | 0.792 g/cm3[2] | ||
จุดหลอมเหลว | −97.6 องศาเซลเซียส (−143.7 องศาฟาเรนไฮต์; 175.6 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 64.7 องศาเซลเซียส (148.5 องศาฟาเรนไฮต์; 337.8 เคลวิน) | ||
ผสมกันได้ | |||
log P | −0.69 | ||
ความดันไอ | 13.02 kPa (at 20 °C) | ||
pKa | 15.5[3] | ||
กรด | Methyloxonium[4] | ||
เบส | Methanolate[5] | ||
−21.40·10−6 cm3/mol | |||
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.33141[6] | ||
ความหนืด | 0.545 mPa·s (at 25 °C)[7] | ||
1.69 D | |||
อุณหเคมี | |||
725.7 kJ/mol, 173.4 kcal/mol, 5.77 kcal/g | |||
ความอันตราย[12][13] | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
เมทานอลและไอระเหยของเมทานอลเป็นสารไวไฟ
Moderately toxic for small animals – Highly toxic to large animals and humans (in high concentrations) – May be fatal/lethal or cause blindness and damage to the liver, kidneys, and heart if swallowed – Toxicity effects from repeated over exposure have an accumulative effect on the central nervous system, especially the optic nerve – Symptoms may be delayed, become severe after 12 to 18 hours, and linger for several days after exposure[9] | ||
GHS labelling: | |||
[8] | |||
อันตราย[8] | |||
H225, H301, H302, H305, H311, H331, H370[8] | |||
P210, P233, P235, P240, P241, P242, P243, P260, P264, P270, P271, P280, P301+P330+P331, P302+P352, P303+P361+P353, P304+P340, P305+P351+P338, P307+P311, P310, P311, P312, P337+P313, P361, P363, P370+P378, P403+P233, P405, P501[8] | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | 11 ถึง 12 องศาเซลเซียส (52 ถึง 54 องศาฟาเรนไฮต์; 284 ถึง 285 เคลวิน) | ||
470 องศาเซลเซียส (878 องศาฟาเรนไฮต์; 743 เคลวิน)[15] 385 องศาเซลเซียส (725 องศาฟาเรนไฮต์; 658 เคลวิน)[16] | |||
ขีดจำกัดการระเบิด | 6–36%[10] | ||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LD50 (median dose)
|
5628 mg/kg (rat, oral) 7300 mg/kg (mouse, oral) 12880 mg/kg (rat, oral) 14200 mg/kg (rabbit, oral)[11] | ||
LC50 (median concentration)
|
64,000 ppm (rat, 4 h)[11] | ||
LCLo (lowest published)
|
33,082 ppm (cat, 6 h) 37,594 ppm (mouse, 2 h)[11] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
TWA 200 ppm (260 mg/m3)[10] | ||
REL (Recommended)
|
TWA 200 ppm (260 mg/m3) ST 250 ppm (325 mg/m3) [skin][10] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
6000 ppm[10] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | [1] | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
Methanethiol Silanol เอทานอล | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
- 2 CH3OH + 3 O2 → 2 CO2 + 4 H2O
ซึ่งเปลวไฟที่ได้จากการเผาเกือบจะมองไม่เห็นเลย ดังนั้นจึงควรระมัดระวังหากมีการใช้เมทานอลเป็นเชื้อเพลิง นอกจากนี้เมทานอลยังใช้ผสมเอทานอล เพื่อมิให้สามารถรับประทานได้ (denatured alcohol) ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในทางภาษีอากร
การใช้ในทางที่ผิด
แก้ในการทำเหล้าเถื่อนมีการนำเอาสารนี้ผสมลงไปด้วยเพราะราคาถูก ทั้งนี้ เหล้าที่ต้มเองซึ่งมักมีส่วนผสมของเมทานอลที่ใช้ในการทำอุตสาหกรรม มักเป็นที่นิยมในหมู่คนยากจนอินเดียเนื่องจากมีราคาถูกกว่า แต่เนื่องจาก เมทานอลเป็นพิษ จึงทำให้เสียชีวิตภายหลังจากการดื่ม
ประโยชน์
แก้เมทานอลส่วนใหญ่ นำไปเป็นสารฟอร์มาลดีไฮด์ เพื่อผลิตพลาสติก ไม้อัด สี วัตถุระเบิด และการจัดกลีบผ้าถาวร
สารแปรรูปของเมทานอลถูกนำไปผสมกับ LPG เพื่อใช้ในครัวเรือน หรือผสมกับน้ำมันดีเซล ทำเป็นไบโอดีเซล
อ้างอิง
แก้- ↑ Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: The Royal Society of Chemistry. 2014. p. 692. doi:10.1039/9781849733069-00648. ISBN 978-0-85404-182-4.
- ↑ Lide, D. R., บ.ก. (2005). CRC Handbook of Chemistry and Physics (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5.
- ↑ Ballinger, P.; Long, F. A. (1960). "Acid Ionization Constants of Alcohols. II. Acidities of Some Substituted Methanols and Related Compounds". J. Am. Chem. Soc. 82 (4): 795–798. doi:10.1021/ja01489a008.
- ↑ "Methyloxonium". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2018. สืบค้นเมื่อ 21 December 2018.
- ↑ "Methanolate". pubchem.ncbi.nlm.nih.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2018. สืบค้นเมื่อ 21 December 2018.
Methoxide is an organic anion that is the conjugate base of methanol. ... It is a conjugate base of a methanol.
- ↑ "RefractiveIndex.INFO – Refractive index database". refractiveindex.info. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 February 2017. สืบค้นเมื่อ 14 February 2012.
- ↑ González, Begoña (2007). "Density, dynamic viscosity, and derived properties of binary mixtures of methanol or ethanol with water, ethyl acetate, and methyl acetate at T = (293.15, 298.15, and 303.15) K". The Journal of Chemical Thermodynamics. 39 (12): 1578–1588. doi:10.1016/j.jct.2007.05.004.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 "Methanol" (PDF). Lab Chem. Valtech. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2016. สืบค้นเมื่อ 10 March 2016.
- ↑ Toxicity on PubChem เก็บถาวร 20 สิงหาคม 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0397". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ 11.0 11.1 11.2 "Methanol". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ 12.0 12.1 "The Emergency Response Safety and Health Database: Systematic Agent: METHANOL". Centers for Disease Control and Prevention. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 April 2009. สืบค้นเมื่อ 3 August 2018.
- ↑ "PubChem: Safety and Hazards - GHS Classification". National Center for Biotechnology Information, U.S. National Library of Medicine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 August 2018. สืบค้นเมื่อ 20 August 2018.
- ↑ "Methanol Safe Handling Manual" (PDF). Methanol Institute. 2017. p. 253. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2017. สืบค้นเมื่อ 3 August 2018.
- ↑ "Technical Information & Safe Handling Guide for Methanol". Methanex Corporation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 March 2012.
- ↑ "Methanol Safe Handling Manual" (PDF). Methanol Institute. 2017. p. 243. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2017. สืบค้นเมื่อ 3 August 2018.
อ่านเพิ่มเติม
แก้- Robert Boyle, The Sceptical Chymist (1661) – contains account of distillation of wood alcohol.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- International Chemical Safety Card 0057
- Methyl Alcohol (Methanol) CDC/NIOSH, links to safety information
- CDC – NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards – Methyl Alcohol
- Methanol Fact Sheet – National Pollutant Inventory