เอทานอล

ชื่อสารเคมีประเภทแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง

เอทานอล (อังกฤษ: ethanol) หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ (อังกฤษ: ethyl alcohol) (สูตรเคมี C2H5OH) เป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการนำเอาพืชมาหมักเพื่อเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล จากนั้นจึงเปลี่ยนจากน้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ โดยใช้เอนไซม์หรือกรดบางชนิดช่วยย่อย เมื่อทำให้เป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 95% โดยการกลั่น ส่วนใหญ่ผลิตจากพืช สองประเภทคือ พืชประเภทน้ำตาล เช่นอ้อย บีตรูต และพืชจำพวกแป้งเช่น มันสำปะหลัง ข้าว ข้าวโพด เป็นต้น

เอทานอล
Full structural formula of ethanol
Full structural formula of ethanol
Skeletal formula of ethanol
Skeletal formula of ethanol
Ball-and-stick model of ethanol
Ball-and-stick model of ethanol
Space-filling model of ethanol
Space-filling model of ethanol
ชื่อ
Pronunciation /ˈɛθənɒl/
Preferred IUPAC name
Ethanol[1]
ชื่ออื่น
  • Absolute alcohol
  • Alcohol
  • Cologne spirit
  • Drinking alcohol
  • Ethylic alcohol
  • EtOH
  • Ethyl alcohol
  • Ethyl hydroxide
  • Ethylene hydrate
  • Ethylol
  • Grain alcohol
  • Hydroxyethane
  • Methylcarbinol
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3DMet
1718733
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard 100.000.526 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
787
KEGG
UNII
UN number UN 1170
  • InChI=1S/C2H6O/c1-2-3/h3H,2H2,1H3 checkY
    Key: LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C2H6O/c1-2-3/h3H,2H2,1H3
    Key: LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYAB
  • OCC
คุณสมบัติ
C2H6O
มวลโมเลกุล 46.069 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวไม่มีสี
กลิ่น ฉุนเหมือนไวน์[2]
ความหนาแน่น 0.78945 g/cm3 (at 20 °C)[3]
จุดหลอมเหลว −114.14 ± 0.03[3] องศาเซลเซียส (−173.45 ± 0.05 องศาฟาเรนไฮต์; 159.01 ± 0.03 เคลวิน)
จุดเดือด 78.23 ± 0.09[3] องศาเซลเซียส (172.81 ± 0.16 องศาฟาเรนไฮต์; 351.38 ± 0.09 เคลวิน)
ผสมกันได้
log P −0.18
ความดันไอ 5.95 kPa (at 20 °C)
pKa 15.9 (H2O), 29.8 (DMSO)[4][5]
−33.60·10−6 cm3/mol
1.3611[3]
ความหนืด 1.2 mPa·s (at 20 °C), 1.074 mPa·s (at 25 °C)[6]
1.69 D[7]
ความอันตราย
GHS labelling:
The flame pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
อันตราย
H225, H319
P210, P233, P240, P241, P242, P305+P351+P338
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 3: Liquids and solids that can be ignited under almost all ambient temperature conditions. Flash point between 23 and 38 °C (73 and 100 °F). E.g. gasolineInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
2
3
0
จุดวาบไฟ 14 °C (Absolute)[9]
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
  • 7340 mg/kg (oral, rat)
  • 7300 mg/kg (mouse)
[ต้องการอ้างอิง]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
TWA 1000 ppm (1900 mg/m3)[10]
REL (Recommended)
TWA 1000 ppm (1900 mg/m3)[10]
IDLH (Immediate danger)
N.D.[10]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) [8]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

อุตสาหกรรมเอทานอล

แก้

บราซิลเป็นผู้ผลิตเอทานอลอันดับหนึ่งในโลก [11] ข้อมูลปี พ.ศ. 2551 ประเทศไทยมีโรงงานเอทานอล 11 แห่ง กำลังการผลิตรวม 1.75 ล้านลิตรต่อวัน ขณะที่ความต้องการใช้ในประเทศมีเพียง 800,000 ลิตรต่อวัน [12]

เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงที่สะอาดและเผาไหม้ได้สมบูรณ์ช่วยลดการเกิดมลพิษในอากาศและเป็นผลดีต่อสภาวะแวดล้อมและมีฐานวัตถุดิบมาจากพืชซึ่งสามารถดูดซับปริมาณ แก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ในบรรยากาศได้

เอทานอลเป็นพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ผลิตได้จากวัตถุดิบทางการเกษตรซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท[13] 1. วัตถุดิบประเภทน้ำตาล ได้แก่ น้ำอ้อย น้ำตาลจากบีตรูต และกากน้ำตาลซึ่งยีสต์สามารถย่อยสลายวัตถุดิบประเภทนี้ได้เลยทันทีโดยไม่ต้องผ่านการย่อยเพื่อเป็นน้ำตาล (Pretreatment) 2. วัตถุดิบประเภทแป้ง ได้แก่ มันสำปะหลัง ธัญพืชและมันฝรั่งในการผลิตจะต้องย่อยแป้งในวัตถุดิบให้เป็นน้ำตาลกลูโคสซึ่งเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเสียก่อนยีสต์จึงจะเปลี่ยนน้ำตาลเป็นเอทานอลได้ 3. วัตถุดิบประเภทที่เป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น กากอ้อย ฟางข้าวซังข้าวโพด และของเสียจากอุตสาหกรรม เยื่อกระดาษ ฯลฯ

เอทานอลมีค่าออกเทนสูงนำไปผสมกับน้ำมันเบนซินเรียกว่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ได้ ถ้าผสมกับน้ำมันดีเซล เรียกว่าน้ำมันดีโซฮอล์ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เอทานอล บริสุทธิ์เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตรงโดยไม่ต้องผสมกับน้ำมันได้อีกด้วย   ปัจจุบันไทยมีโรงงานเอทานอล 27 แห่ง กำลังการผลิตรวม 6.125 ล้านลิตร [14]

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Nomenclature of Organic Chemistry : IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge, UK: The Royal Society of Chemistry. 2014. p. 30. doi:10.1039/9781849733069-00001. ISBN 978-0-85404-182-4.
  2. "Ethanol". PubChem. สืบค้นเมื่อ 29 December 2022.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. p. 3.246. ISBN 1439855110.
  4. Ballinger P, Long FA (1960). "Acid Ionization Constants of Alcohols. II. Acidities of Some Substituted Methanols and Related Compounds1,2". Journal of the American Chemical Society. 82 (4): 795–798. doi:10.1021/ja01489a008.
  5. Arnett EM, Venkatasubramaniam KG (1983). "Thermochemical acidities in three superbase systems". J. Org. Chem. 48 (10): 1569–1578. doi:10.1021/jo00158a001.
  6. Lide DR, บ.ก. (2012). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92 ed.). Boca Raton, FL: CRC Press/Taylor and Francis. pp. 6–232.
  7. Lide DR, บ.ก. (2008). CRC Handbook of Chemistry and Physics (89 ed.). Boca Raton, FL: CRC Press. pp. 9–55.
  8. "MSDS Ethanol". สืบค้นเมื่อ 2023-01-12.
  9. "Ethanol". webwiser.nlm.nih.gov (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-06-25.
  10. 10.0 10.1 10.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0262". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  11. http://www.ftawatch.org/news/view.php?id=11176[ลิงก์เสีย]
  12. http://www.thairath.co.th/news.php?section=economic&content=100548
  13. thai-ethanol.com/th/2013-04-06-13-53-49/what-is-ethanol.html
  14. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-30. สืบค้นเมื่อ 2020-09-08.

อ่านเพิ่มเติม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้