แม่น้ำอามูดาร์ยา

อามูดาร์ยา[a] ในอดีตมีชื่อเรียกในภาษาละตินว่า ออกซุส (Oxus; Ὦξος)[2] เป็นแม่น้ำสายหลักในเอเชียกลางและอัฟกานิสถาน เกิดจากธารน้ำแข็งบนเทือกเขาปามีร์ทางตอนเหนือของฮินดูกูช ในบริเวณที่แม่น้ำ Vakhsh กับปันจ์บรรจบกันในเขตสงวนธรรมชาติ Tigrovaya Balka บนชายแดนระหว่างอัฟกานิสถานกับทาจิกิสถาน และไหลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือไปยังส่วนหลงเหลือของทะเลอารัลตอนใต้ ส่วนแม่น้ำสายเหนือเป็นชายแดนทางตอนเหนือของอัฟกานิสถานกับทาจิกิสถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน ในประวัติศาสตร์สมัยโบราณ แม่น้ำนี้ถือเป็นของเขตของเกรตเตอร์อิหร่านกับ "Turan" ซึ่งเทียบได้กับเอเชียกลางในปัจจุบัน[3] อามูดาร์ยามีน้ำไหลเฉลี่ยประมาณ 70 ลูกบาศก์กิโลเมตรต่อปี[4]

อามูดาร์ยา
Oxus, Wehrōd, də Āmu Sind, Amu River
แม่น้ำอามูดาร์ยาจากประเทศเติร์กเมนิสถาน
แผนที่บริเวณรอบทะเลอารัลใน ป. ค.ศ. 2008 ที่ราบลุ่มแม่น้ำอามูดาร์ยออยู่ในสีส้ม ส่วนที่ราบลุ่มแม่น้ำซีร์ดาร์ยาอยู่ในสีเหลือง
ที่มาของชื่อตั้งชื่อตามนคร Āmul (ปัจจุบันคือตืร์กเมนาบัต)
ชื่อท้องถิ่น
ที่ตั้ง
ประเทศ
ภูมิภาคเอเชียกลาง
ลักษณะทางกายภาพ
ต้นน้ำแม่น้ำปามีร์/แม่น้ำปันจ์
 • ตำแหน่งทะเลสาบโซร์คูล เทือกเขาปามีร์ ประเทศอัฟกานิสถาน
 • พิกัด37°27′04″N 73°34′21″E / 37.45111°N 73.57250°E / 37.45111; 73.57250
 • ระดับความสูง4,130 m (13,550 ft)
แหล่งที่ 2แม่น้ำ Kyzylsu/แม่น้ำวาคช์
 • ตำแหน่งหุบเขาออลอย เทือกเขาปามีร์ ประเทศคีร์กีซสถาน
 • พิกัด39°13′27″N 72°55′26″E / 39.22417°N 72.92389°E / 39.22417; 72.92389
 • ระดับความสูง4,525 m (14,846 ft)
จุดบรรจบKerki
 • ตำแหน่งประเทศทาจิกิสถาน
 • พิกัด37°06′35″N 68°18′44″E / 37.10972°N 68.31222°E / 37.10972; 68.31222
 • ระดับความสูง326 m (1,070 ft)
ปากน้ำทะเลอารัล
 • ตำแหน่ง
สามเหลี่ยมปากแม่น้ำอามูดาร์ยา ประเทศอุซเบกิสถาน
 • พิกัด
44°06′30″N 59°40′52″E / 44.10833°N 59.68111°E / 44.10833; 59.68111
 • ระดับความสูง
28 m (92 ft)
ความยาว2,400 km (1,500 mi)
พื้นที่ลุ่มน้ำ534,739 km2 (206,464 sq mi)
อัตราการไหล 
 • เฉลี่ย2,525 m3/s (89,200 cu ft/s)[1]
 • ต่ำสุด420 m3/s (15,000 cu ft/s)
 • สูงสุด5,900 m3/s (210,000 cu ft/s)
ลุ่มน้ำ
ลำน้ำสาขา 
 • ซ้ายแม่น้ำปันจ์
 • ขวาแม่น้ำวาคช์, Surkhan Darya, Sherabad River, Zeravshan River

ชื่อ

แก้
 
สามเหลี่ยมปากแม่น้ำอามูดาร์ยามองจากอวกาศ

ในสมัยคลาสสิก แม่น้ำนี้มีชื่อเรียกในภาษาละตินว่า Ōxus และในภาษากรีกโบราณว่า Ὦξος (Ôxos) ซึ่งมีที่มาจากชื่อ Vakhsh ลำน้ำสาขาที่ใหญ่ที่สุดของแม่น้ำนี้[5] ข้อมูลภาษาเปอร์เซียสมัยกลางจากสมัยซาเซเนียนเรียกแม่น้ำนี้ว่า Wehrōd[3] (แปลว่า 'แม่น้ำดี')

ชื่อ Amu กล่าวกันว่ามาจากนครสมัยกลาง Āmul (ภายหลังกลายเป็น Chahar Joy/Charjunow และปัจจุบันคือตืร์กเมนาบัต) ในบริเวณที่ปัจจุบันคือเติร์กเมนิสถาน ส่วน Darya แปลว่า "ทะเลสาบ" ในภาษาเปอร์เซีย ข้อมูลภาษาอาหรับและอิสลามสมัยกลางเรียกแม่น้ำนี้ว่า ญัยฮูน (อาหรับ: جَـيْـحُـوْن, อักษรโรมัน: Jayḥūn) ซึ่งมาจากคำว่า กิโฮน หนึ่งใน 4 แม่น้ำของสวนเอเดนจากคัมภีร์ไบเบิล[6][7] แม่น้ำอามูดาร์ยาไหลผ่านหนึ่งในทะเลทรายที่สูงที่สุดในโลก[8]

หมายเหตุ

แก้
  1. เปอร์เซีย: آمودریا, อักษรโรมัน: Âmudaryâ, เสียงอ่านภาษาเปอร์เซีย: [ɒːmuː dæɾˈjɒː]
    เติร์กเมน: Amyderýa/Амыдеря
    อุซเบก: Amudaryo/Амударё/ەمۇدەريا
    ทาจิก: Амударё, อักษรโรมัน: Amudaryo
    ปาทาน: د آمو سيند, də Āmú Sínd
    ตุรกี: Ceyhun / Amu Derya
    กรีกโบราณ: Ὦξος, อักษรโรมัน: Ôxos

อ้างอิง

แก้
  1. Daene C. McKinney (18 November 2003). "Cooperative management of transboundary water resources in Central Asia" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-09. สืบค้นเมื่อ 2014-10-03.
  2. "Strabo, Geography, Book 11, chapter 7, section 4". www.perseus.tufts.edu.
  3. 3.0 3.1 B. Spuler, Āmū Daryā, in Encyclopædia Iranica, online ed., 2009
  4. Glantz, Michael H. (2005-01-01). "Water, Climate, and Development Issues in the Amu Darya Basin". Mitigation and Adaptation Strategies for Global Change (ภาษาอังกฤษ). 10 (1): 23–50. doi:10.1007/s11027-005-7829-8. ISSN 1573-1596. S2CID 154617195.
  5. Page, Geology (2015-02-19). "Amu Darya River". Geology Page (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-05-28.
  6. William C. Brice. 1981. Historical Atlas of Islam (Hardcover). Leiden with support and patronage from Encyclopaedia of Islam. ISBN 90-04-06116-9.
  7. "Amu Darya". Encyclopædia Britannica Online.
  8. "Amu Darya". geography.name. สืบค้นเมื่อ 2020-07-16.

อ่านเพิ่ม

แก้
  • Curzon, George Nathaniel. 1896. The Pamirs and the Source of the Oxus. Royal Geographical Society, London. Reprint: Elibron Classics Series, Adamant Media Corporation. 2005. ISBN 1-4021-5983-8 (pbk; ISBN 1-4021-3090-2 (hbk).
  • Gordon, T. E. 1876. The Roof of the World: Being the Narrative of a Journey over the high plateau of Tibet to the Russian Frontier and the Oxus sources on Pamir. Edinburgh. Edmonston and Douglas. Reprint by Ch'eng Wen Publishing Company. Taipei. 1971.
  • Toynbee, Arnold J. 1961. Between Oxus and Jumna. London. Oxford University Press.
  • Wood, John, 1872. A Journey to the Source of the River Oxus. With an essay on the Geography of the Valley of the Oxus by Colonel Henry Yule. London: John Murray.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้