เมียนมาเนชันแนลลีก
เมียนมาเนชันแนลลีก (พม่า: မြန်မာ နေရှင်နယ် လိဂ်; ตัวย่อ MNL) เป็นลีกฟุตบอลอาชีพระดับสูงสุดของประเทศพม่า ก่อตั้งในปี ค.ศ. 2009 แทนที่เมียนมาพรีเมียร์ลีก ซึ่งประกอบด้วย 14 สโมสรในย่างกุ้ง และ 8 สโมสรจากภูมิภาคอื่น ๆ[1] วันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2009 ลีกได้จัดทำการแข่งขัน เมียนมาเนชันแนลลีกคัพ ฤดูกาล 2009 เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขันจริงใน ค.ศ. 2010 ซึ่งจะใช้เวลาแข่งขัน 2 เดือน[2] โดยลีกคัพครั้งนี้ จัดแข่งขันที่สนามกีฬาในย่างกุ้ง 2 แห่ง วันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 สโมสรฟุตบอลยะดะนาโบน เอาชนะ สโมสรฟุตบอลย่างกุ้งยูไนเต็ด คว้าแชมป์สมัยแรกได้สำเร็จ
ก่อตั้ง | 4 มีนาคม ค.ศ. 2009 |
---|---|
ฤดูกาลแรก | 2009 |
ประเทศ | พม่า |
สมาพันธ์ | เอเอฟซี |
จำนวนทีม | 12 |
ระดับในพีระมิด | 1 |
ตกชั้นสู่ | เอ็มเอ็นแอล-2 |
ถ้วยระดับประเทศ | แชริตีคัพ |
ถ้วยระดับลีก | เจเนรัลอองซานชิลด์ |
ถ้วยระดับนานาชาติ | เอเอฟซีคัพ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ชาน ยูไนเต็ด (สมัยที่ 4) |
ชนะเลิศมากที่สุด | ย่างกุ้งยูไนเต็ด (5 สมัย) |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | ฟอร์สปอร์ต (ถ่ายทอดสด) แชนแนล-7 (ไฮไลท์) เอ็มอาร์ทีวี (เอฟทีเอ) |
เว็บไซต์ | www |
ปัจจุบัน: ฤดูกาล 2024 |
ลีกได้เพิ่มอีกสามสโมสรในฤดูกาล 2010[3] และอีกหนึ่งสโมสรในฤดูกาล 2011[4] และใน ค.ศ. 2012 ได้มีอีกสองสโมสรจากรัฐชีนและรัฐชาน ส่งทีมลงแข่งขัน[5]
ในปี ค.ศ. 2014 ได้มีการเพิ่มการเลื่อนชั้นและตกชั้น[6]
สโมสร
แก้สโมสร | ที่ตั้ง | สนามเหย้า | ความจุ |
---|---|---|---|
อิรวดียูไนเต็ด | พะสิม | สนามกีฬากย็อตเตีย | 6,000 |
ชีนยูไนเต็ด | ฮ่าค่า | สนามกีฬาวัมมะทุเหมือง* | 4,000 |
หงสาวดียูไนเต็ด | หงสาวดี | สนามกีฬาพะโค (บางครั้งใช้สนามกีฬาตองอู) | 4,000 |
มะกเว | มะกเว | สนามกีฬามะกเว* | 3,000 |
เนปยีดอ | เนปยีดอ | สนามกีฬาวูนนะเตะดิ | 30,000 |
ยะไข่ยูไนเต็ด | ซิตเว | สนามกีฬาไหว่ต้าร์ลี่ | 7,000 |
ชานยูไนเต็ด | ตองจี | สนามกีฬาตองจี | 7,000 |
เซาเทิร์นเมียนมายูไนเต็ด | เมาะลำเลิง | สนามกีฬารามัญยา | 10,000 |
ยะดะนาโบน | มัณฑะเลย์ | สนามกีฬามานดะลาตีริ | 30,000 |
ย่างกุ้งยูไนเต็ด | ย่างกุ้ง | ย่างกุ้งยูไนเต็ดสปอร์ตคอมเพล็กซ์ | 3,500 |
จีเอฟเอ | รัฐชีน | ||
ชเวกาบินยูไนเต็ด | พะอาน | สนามกีฬาพะอาน | 3,000 |
(*) - สนามไม่สามารถใช้งานได้ บางสโมสรที่ไม่มีสนามเหย้า จะใช้สนามกีฬาพลตรี อองซาน และสนามกีฬาตุวูนนะ ในย่างกุ้ง[7]
สนามเหย้า (ฤดูกาล 2017)
แก้เซาเทิร์นเมียนมายูไนเต็ด | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | ยะไข่ยูไนเต็ด | ชานยูไนเต็ด | ยะดะนาโบน | เนปีดอ |
---|---|---|---|---|---|
สนามกีฬารามัญยา | ย่างกุ้ง ยูไนเต็ด สปอร์ต คอมเพล็กซ์ | สนามกีฬาไหว่ต้าร์ลี่ | สนามกีฬาตองยี | สนามกีฬามานดะลาตีริ | สนามกีฬาวูนนะเตะดิ |
ความจุ: 10,000 | ความจุ: 3,500 | ความจุ: 7,000 | ความจุ: 7,600 | ความจุ: 30,000 | ความจุ: 30,000 |
ชเวกาบินยูไนเต็ด | อิรวดียูไนเต็ด | ชีนยูไนเต็ด | หงสาวดียูไนเต็ด | มักเว | จีเอฟเอ |
สนามกีฬาพะอาน | สนามกีฬากย็อตเตีย | สนามกีฬาตองอู | |||
ความจุ: 3,000 | ความจุ: 6,000 | ความจุ: ไม่ทราบ | ความจุ: 4,000 | ความจุ: ไม่ทราบ | ความจุ: ไม่ทราบ |
รายชื่อแชมป์
แก้# | ฤดูกาล | ทีมชนะเลิศ | ทีมรองชนะเลิศ |
---|---|---|---|
1 | 2009 | ยะดะนาโบน | อิรวดียูไนเต็ด |
2 | 2010 | ยะดะนาโบน | เซยา ชเว มเย |
3 | 2011 | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | อิรวดียูไนเต็ด |
4 | 2012 | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | กานบาวซา |
5 | 2013 | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | เนปีดอ |
6 | 2014 | ยะดะนาโบน | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
7 | 2015 | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | ยะดะนาโบน |
8 | 2016 | ยะดะนาโบน | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
9 | 2017 | ชานยูไนเต็ด | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
10 | 2018 | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | ชานยูไนเต็ด |
11 | 2019 | ชานยูไนเต็ด | อิรวดียูไนเต็ด |
12 | 2020 | ชานยูไนเต็ด | หงสาวดียูไนเต็ด |
13 | 2021 | ยกเลิกการแข่งขัน | |
14 | 2022 | ชานยูไนเต็ด | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
15 | 2023 | ชานยูไนเต็ด | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
แชมป์แบ่งตามสโมสร
แก้สโมสร | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | ปีที่ชนะเลิศ | ปีที่ได้รองชนะเลิศ |
---|---|---|---|---|
ย่างกุ้งยูไนเต็ด | 2011, 2012, 2013, 2015, 2018 | 2014, 2016, 2017, 2022, 2023 | ||
ชานยูไนเต็ด | 2017, 2019, 2020, 2022, 2023 | 2018 | ||
ยะดะนาโบน | 2009, 2010, 2014, 2016 | 2015 | ||
อิรวดียูไนเต็ด | 2009, 2011, 2019 | |||
กานบาวซา | 2012 | |||
เนปีดอ | 2013 | |||
เซยา ชเว มเย | 2010 | |||
หงสาวดียูไนเต็ด | 2020 |
รางวัล
แก้เงินรางวัล
แก้ผู้ทำประตูสูงสุด
แก้ฤดูกาล | สัญชาติ | ผู้เล่น | สโมสร | จำนวนประตู |
---|---|---|---|---|
2016 | วีนไนง์โซ | ยะดะนาโบน | 16 | |
คีธ มาร์ตู นาห์ | ||||
คริสโตเฟอร์ ชีโซบา | อิรวดียูไนเต็ด | |||
2015 | เซซาร์ เอากุสตู | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | 28 | |
2014 | เซซาร์ เอากุสตู | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | 26 | |
2013 | เซซาร์ เอากุสตู | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | 20 | |
2012 | ซาชา รันคอวิช | เซยา ชเว มเย | 20 | |
2011 | ชาลส์ โอบี | ย่างกุ้งยูไนเต็ด | 18 | |
2010 | ฌ็อง-รอเฌ ลาปเป-ลาปเป | หงสาวดียูไนเต็ด | 20 | |
2009-10 | โซมีนอู | กานบาวซา | 12 | |
2009 | ยานไปง์ | ยะดะนาโบน | 8 |
ผู้จัดการทีมแห่งปี
แก้ฤดูกาล | ผู้จัดการ | สโมสร |
---|---|---|
2016 | René Desaeyere | ยะดะนาโบน |
2015 | Saric | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
2014 | U Khin Maung Tint | ยะดะนาโบน |
2013 | Eric Williams | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
2012 | Ivan Venkov Kolev | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
2011 | Eric Williams | ย่างกุ้งยูไนเต็ด |
2010 | Yoan | ยะดะนาโบน |
2009 | Yoan | ยะดะนาโบน |
ผู้เล่นแห่งปี
แก้ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Han Oo Khin (March 9–15, 2009). "New era for football". The Myanmar Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 15, 2012.
- ↑ Han Oo Khin (March 30 – April 5, 2009). "MFF announces May domestic cup competition". The Myanmar Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 14, 2012.
- ↑ "MNL season opens in style". Myanmar Times. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-05. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011.
- ↑ "MNL expands ahead of 2011 season launch". Myanmar Times. January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011.
- ↑ "၂၀၁၂ ပြိုင်ပွဲတွင် ချင်းကိုယ်စားပြု အသင်းတစ်သင်း ပါဝင် ယှဉ်ပြိုင်မည်". Soccer Myanmar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-04. สืบค้นเมื่อ 2 October 2011.
- ↑ "MNL TO INTRODUCE PROMOTION-RELEGATION SYSTEM BY 2014". ASEAN Football. สืบค้นเมื่อ 9 January 2012.
- ↑ MNL, MFF (21 September 2016). "Eight seasons in for MNL, three teams drop out". Stdium. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-21. สืบค้นเมื่อ 21 October 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
- League at fifa.com เก็บถาวร 2011-12-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Soccer Myanmar Website เก็บถาวร 2015-09-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- RSSSF.com - Myanmar - List of Champions