เมียนมาเนชันแนลลีก

(เปลี่ยนทางจาก เมียนมาร์เนชันแนลลีก)

เมียนมาเนชันแนลลีก (พม่า: မြန်မာ နေရှင်နယ် လိဂ်; ตัวย่อ MNL) เป็นลีกฟุตบอลอาชีพระดับสูงสุดของประเทศพม่า ก่อตั้งในปี ค.ศ. 2009 แทนที่เมียนมาพรีเมียร์ลีก ซึ่งประกอบด้วย 14 สโมสรในย่างกุ้ง และ 8 สโมสรจากภูมิภาคอื่น ๆ[1] วันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2009 ลีกได้จัดทำการแข่งขัน เมียนมาเนชันแนลลีกคัพ ฤดูกาล 2009 เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขันจริงใน ค.ศ. 2010 ซึ่งจะใช้เวลาแข่งขัน 2 เดือน[2] โดยลีกคัพครั้งนี้ จัดแข่งขันที่สนามกีฬาในย่างกุ้ง 2 แห่ง วันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 สโมสรฟุตบอลยะดะนาโบน เอาชนะ สโมสรฟุตบอลย่างกุ้งยูไนเต็ด คว้าแชมป์สมัยแรกได้สำเร็จ

เมียนมาเนชันแนลลีก
ก่อตั้ง4 มีนาคม ค.ศ. 2009
ฤดูกาลแรก2009
ประเทศ พม่า
สมาพันธ์เอเอฟซี
จำนวนทีม12
ระดับในพีระมิด1
ตกชั้นสู่เอ็มเอ็นแอล-2
ถ้วยระดับประเทศแชริตีคัพ
ถ้วยระดับลีกเจเนรัลอองซานชิลด์
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีคัพ
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
ทีมชนะเลิศปัจจุบันชาน ยูไนเต็ด (สมัยที่ 4)
ชนะเลิศมากที่สุดย่างกุ้งยูไนเต็ด (5 สมัย)
หุ้นส่วนโทรทัศน์ฟอร์สปอร์ต (ถ่ายทอดสด)
แชนแนล-7 (ไฮไลท์)
เอ็มอาร์ทีวี (เอฟทีเอ)
เว็บไซต์www.themnl.com
ปัจจุบัน: ฤดูกาล 2022

ลีกได้เพิ่มอีกสามสโมสรในฤดูกาล 2010[3] และอีกหนึ่งสโมสรในฤดูกาล 2011[4] และใน ค.ศ. 2012 ได้มีอีกสองสโมสรจากรัฐชีนและรัฐชาน ส่งทีมลงแข่งขัน[5]

ในปี ค.ศ. 2014 ได้มีการเพิ่มการเลื่อนชั้นและตกชั้น[6]

สโมสร แก้

 
 
อิรวดียูไนเต็ด
 
ชีนยูไนเต็ด
 
จีเอฟเอ
 
หงสาวดียูไนเต็ด
 
เซาเทิร์นเมียนมา
 
ย่างกุ้งยูไนเต็ด
 
ยะดะนาโบน
 
ยะไข่ยูไนเต็ด
 
มะกเว
 
เนปยีดอ
 
ชานยูไนเต็ด
 
ชเวกาบิน
ตำแหน่งที่ตั้งเมียนมาเนชันแนลลีก 2017
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ
อิรวดียูไนเต็ด พะสิม สนามกีฬากย็อตเตีย 6,000
ชีนยูไนเต็ด ฮ่าค่า สนามกีฬาวัมมะทุเหมือง* 4,000
หงสาวดียูไนเต็ด หงสาวดี สนามกีฬาพะโค (บางครั้งใช้สนามกีฬาตองอู) 4,000
มะกเว มะกเว สนามกีฬามะกเว* 3,000
เนปยีดอ เนปยีดอ สนามกีฬาวูนนะเตะดิ 30,000
ยะไข่ยูไนเต็ด ซิตเว สนามกีฬาไหว่ต้าร์ลี่ 7,000
ชานยูไนเต็ด ตองจี สนามกีฬาตองจี 7,000
เซาเทิร์นเมียนมายูไนเต็ด เมาะลำเลิง สนามกีฬารามัญยา 10,000
ยะดะนาโบน มัณฑะเลย์ สนามกีฬามานดะลาตีริ 30,000
ย่างกุ้งยูไนเต็ด ย่างกุ้ง ย่างกุ้งยูไนเต็ดสปอร์ตคอมเพล็กซ์ 3,500
จีเอฟเอ รัฐชีน
ชเวกาบินยูไนเต็ด พะอาน สนามกีฬาพะอาน 3,000

(*) - สนามไม่สามารถใช้งานได้ บางสโมสรที่ไม่มีสนามเหย้า จะใช้สนามกีฬาพลตรี อองซาน และสนามกีฬาตุวูนนะ ในย่างกุ้ง[7]

สนามเหย้า (ฤดูกาล 2017) แก้

เซาเทิร์นเมียนมายูไนเต็ด ย่างกุ้งยูไนเต็ด ยะไข่ยูไนเต็ด ชานยูไนเต็ด ยะดะนาโบน เนปีดอ
สนามกีฬารามัญยา ย่างกุ้ง ยูไนเต็ด สปอร์ต คอมเพล็กซ์ สนามกีฬาไหว่ต้าร์ลี่ สนามกีฬาตองยี สนามกีฬามานดะลาตีริ สนามกีฬาวูนนะเตะดิ
ความจุ: 10,000 ความจุ: 3,500 ความจุ: 7,000 ความจุ: 7,600 ความจุ: 30,000 ความจุ: 30,000
ชเวกาบินยูไนเต็ด อิรวดียูไนเต็ด ชีนยูไนเต็ด หงสาวดียูไนเต็ด มักเว จีเอฟเอ
สนามกีฬาพะอาน สนามกีฬากย็อตเตีย สนามกีฬาตองอู
ความจุ: 3,000 ความจุ: 6,000 ความจุ: ไม่ทราบ ความจุ: 4,000 ความจุ: ไม่ทราบ ความจุ: ไม่ทราบ

รายชื่อแชมป์ แก้

# ฤดูกาล ทีมชนะเลิศ ทีมรองชนะเลิศ
1 2009 ยะดะนาโบน อิรวดียูไนเต็ด
2 2010 ยะดะนาโบน เซยา ชเว มเย
3 2011 ย่างกุ้งยูไนเต็ด อิรวดียูไนเต็ด
4 2012 ย่างกุ้งยูไนเต็ด กานบาวซา
5 2013 ย่างกุ้งยูไนเต็ด เนปีดอ
6 2014 ยะดะนาโบน ย่างกุ้งยูไนเต็ด
7 2015 ย่างกุ้งยูไนเต็ด ยะดะนาโบน
8 2016 ยะดะนาโบน ย่างกุ้งยูไนเต็ด
9 2017 ชานยูไนเต็ด ย่างกุ้งยูไนเต็ด
10 2018 ย่างกุ้งยูไนเต็ด ชานยูไนเต็ด
11 2019 ชานยูไนเต็ด อิรวดียูไนเต็ด
12 2020 ชานยูไนเต็ด หงสาวดียูไนเต็ด
13 2021 ยกเลิกการแข่งขัน
14 2022 ชานยูไนเต็ด ย่างกุ้งยูไนเต็ด
15 2023 ชานยูไนเต็ด ย่างกุ้งยูไนเต็ด

แชมป์แบ่งตามสโมสร แก้

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีที่ได้รองชนะเลิศ
ย่างกุ้งยูไนเต็ด
5
5
2011, 2012, 2013, 2015, 2018 2014, 2016, 2017, 2022, 2023
ชานยูไนเต็ด
5
1
2017, 2019, 2020, 2022, 2023 2018
ยะดะนาโบน
4
1
2009, 2010, 2014, 2016 2015
อิรวดียูไนเต็ด
0
3
2009, 2011, 2019
กานบาวซา
0
1
2012
เนปีดอ
0
1
2013
เซยา ชเว มเย
0
1
2010
หงสาวดียูไนเต็ด
0
1
2020

รางวัล แก้

เงินรางวัล แก้

  • ชนะเลิศ: 100,000,000 จัต
  • รองชนะเลิศ: 75,000,000 จัต
  • อันดับที่สาม: 50,000,000 จัต

ผู้ทำประตูสูงสุด แก้

ฤดูกาล สัญชาติ ผู้เล่น สโมสร จำนวนประตู
2016   วีนไนง์โซ ยะดะนาโบน 16
  คีธ มาร์ตู นาห์
  คริสโตเฟอร์ ชีโซบา อิรวดียูไนเต็ด
2015   เซซาร์ เอากุสตู ย่างกุ้งยูไนเต็ด 28
2014   เซซาร์ เอากุสตู ย่างกุ้งยูไนเต็ด 26
2013   เซซาร์ เอากุสตู ย่างกุ้งยูไนเต็ด 20
2012   ซาชา รันคอวิช เซยา ชเว มเย 20
2011   ชาลส์ โอบี ย่างกุ้งยูไนเต็ด 18
2010   ฌ็อง-รอเฌ ลาปเป-ลาปเป หงสาวดียูไนเต็ด 20
2009-10   โซมีนอู กานบาวซา 12
2009   ยานไปง์ ยะดะนาโบน 8

ผู้จัดการทีมแห่งปี แก้

ฤดูกาล ผู้จัดการ สโมสร
2016   René Desaeyere ยะดะนาโบน
2015   Saric ย่างกุ้งยูไนเต็ด
2014   U Khin Maung Tint ยะดะนาโบน
2013   Eric Williams ย่างกุ้งยูไนเต็ด
2012   Ivan Venkov Kolev ย่างกุ้งยูไนเต็ด
2011   Eric Williams ย่างกุ้งยูไนเต็ด
2010   Yoan ยะดะนาโบน
2009   Yoan ยะดะนาโบน

ผู้เล่นแห่งปี แก้

ฤดูกาล ผู้เล่น สโมสร
2017   อองตู ยะดะนาโบน
2016   อองตู ยะดะนาโบน
2015   อองตู ยะดะนาโบน
2014   Thiha Sithu ยะดะนาโบน
2013   César Augusto ย่างกุ้งยูไนเต็ด
2012   Kyi Lin ย่างกุ้งยูไนเต็ด
2011   Kyaw Ko Ko เซยา ชเว มเย
2010
2009   Yan Paing ยะดะนาโบน

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Han Oo Khin (March 9–15, 2009). "New era for football". The Myanmar Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 15, 2012.
  2. Han Oo Khin (March 30 – April 5, 2009). "MFF announces May domestic cup competition". The Myanmar Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 14, 2012.
  3. "MNL season opens in style". Myanmar Times. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-05. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011.
  4. "MNL expands ahead of 2011 season launch". Myanmar Times. January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011.
  5. "၂၀၁၂ ပြိုင်ပွဲတွင် ချင်းကိုယ်စားပြု အသင်းတစ်သင်း ပါဝင် ယှဉ်ပြိုင်မည်". Soccer Myanmar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-04. สืบค้นเมื่อ 2 October 2011.
  6. "MNL TO INTRODUCE PROMOTION-RELEGATION SYSTEM BY 2014". ASEAN Football. สืบค้นเมื่อ 9 January 2012.
  7. MNL, MFF (21 September 2016). "Eight seasons in for MNL, three teams drop out". Stdium. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-21. สืบค้นเมื่อ 21 October 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้