เคาทู
เคาทู (เสียชีวิต ป. ค.ศ. 230)[a] มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า สฺวี ฉู่ (จีน: 許褚; พินอิน: Xǔ Chǔ; ) ชื่อรอง จ้งคาง (จีน: 仲康; พินอิน: Zhòngkāng เป็นขุนพลผู้มีชีวิตในช่วงปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกและยุคสามก๊กของจีน เคาทูเริ่มรับราชการในฐานะองครักษ์ของขุนศึกโจโฉและภายหลังได้ขึ้นเป็นขุนพลของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊ก เคาทูได้รับการระบุว่าเป็นชายที่ร่างใหญ่และแข็งแรง แต่เป็นคนเรียบง่ายและจริงใจ จึงได้รับฉายาจากลูกน้องว่า "เสือโง่" หลังเคาทูเสียชีวิตได้รับสมัญญานามว่า "จว้างโหว" มีความหมายว่า "เจ้าพระยาผู้แข็งแกร่ง"
เคาทู (สฺวี ฉู่) | |
---|---|
許褚 | |
ภาพวาดเคาทูสมัยราชวงศ์ชิง | |
ขุนพลยุทธพิทักษ์ (武衞將軍 อู่เว่ย์เจียงจฺวิน) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 220 – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | โจผี |
ขุนพลหาญกลาง (中堅將軍 จงเจียนเจียงจฺวิน) | |
ดำรงตำแหน่ง ป. ค.ศ. 216 – ค.ศ. 220 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
หัวหน้ารัฐบาล | โจโฉ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ นครปั๋วโจว มณฑลอานฮุย |
เสียชีวิต | ป. ค.ศ. 230[a] |
บุตร | เคาหงี |
ญาติ | สฺวี่ ติ้ง (พี่ชาย) |
อาชีพ | ขุนพล |
ชื่อรอง | จ้งคาง (仲康) |
สมัญญานาม | จว้างโหว (壯侯) |
บรรดาศักดิ์ | โหมวเซียงโหว (牟鄉侯) |
ฉายานาม | เสือโง่ (虎癡 หู่ชือ) |
ประวัติช่วงต้น
แก้เคาทูเป็นชาวอำเภอเจากุ๋น (譙縣 เฉียวเซี่ยน) เมืองไพก๊ก (沛國 เพ่ย์กั๋ว) ซึ่งปัจจุบันคือนครปั๋วโจว มณฑลอานฮุย[3] เคาทูมีร่างสูงกว่า 8 ฉื่อ (ประมาณ 186 เซนติเมตร) และมีเอวกว้าง มีรูปร่างสง่าและดูแข็งแกร่ง เป็นที่รู้จักในเรื่องพละกำลังและความกล้าหาญ[4]
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รับราชการกับโจโฉ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รับราชการกับโจผี
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ครอบครัวและทายาท
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
คำวิจารณ์
แก้ตันซิ่ว (陳壽 เฉิน โช่ว) ผู้เขียนบทชีวประวัติเคาทูในสามก๊กจี่ มีความเห็นว่าเคาทูและเตียนอุยเป็นองครักษ์ผู้ทรงพลังและเทียบได้กับห้วนกุ๋ยหรือห้วนโก้ย (樊噲 ฝาน ไคว่) ขุนพลผู้รับใช้เล่าปัง (劉邦 หลิว ปัง) จักรพรรดิผู้ก่อตั้งราชวงศ์ฮั่น[5]
ในนิยายสามก๊ก
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในวัฒนธรรมประชานิยม
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้บรรณานุกรม
แก้- ตันซิ่ว (คริสต์ศตวรรษที่ 3). สามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อ).
- เผย์ ซงจือ (คริสต์ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายสามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อจู้).
- ซือหม่า กวาง (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.
- ล่อกวนตง (คริสต์ศตวรรษที่ 14). สามก๊ก (ซานกั๋วเหยี่ยนอี้).
- de Crespigny, Rafe (2007). A Biographical Dictionary of Later Han to the Three Kingdoms 23-220 AD. Leiden: Brill. ISBN 9789004156050.