หมอลำ

แนวดนตรีพื้นบ้านของประเทศลาว และภาคอีสานของประเทศไทย

หมอลำ (อีสาน: หมอลำ; ลาว: ໝໍລຳ) เป็นรูปแบบของเพลงลาวโบราณในประเทศลาวและภาคอีสานของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายอย่าง ตามลักษณะทำนองของการลำ เช่น ลำเต้ย ลำพื้น ลำกลอน ลำเรื่อง ลำเรื่องต่อกลอน ลำเพลิน ลำซิ่ง

หมอแคนกำลังบรรเลงเพลงให้กับหมอลำ
การประชันกันของหมอลำซิ่งฝ่ายหญิงและฝ่ายชาย

คำว่า "หมอลำ" มาจากคำ 2 คำมารวมกัน ได้แก่ "หมอ" หมายถึง ผู้มีความชำนาญ และ "ลำ" หมายถึง การบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองอันไพเราะ ดังนั้น หมอลำ จึงหมายถึง ผู้ที่มีความชำนาญในการบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยทำนองเพลงมีต้นแบบมาจากเพลงลูกทุ่ง

ประเภทของหมอลำ แก้ไข

หมอลำ นั้นจะมีประเภทของการแสดงซึ่งเป็นที่นิยมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้

หมอลำกลอน แก้ไข

หมอลำกลอน เป็นหมอลำที่มีความเก่าแก่มาก และเป็นที่นิยมในอดีต ซึ่งจะมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวโดยจะมีการลำเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ชิงชู้ ชิงทรัพย์ เกี้ยวสาว บาปบุญคุณโทษ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาประเพณีของทางภาคอีสาน วรรณคดี ตำนานต่าง ๆ เป็นต้น และจะมีการพูดผญาแทรกเข้ามาระหว่างการลำด้วยทำให้เกิดความตลกขบขัน ซึ่งเป็นสีสันของการแสดง หมอลำกลอนจะประกอบไปด้วย หมอลำฝ่ายชาย หมอลำฝ่ายหญิง และหมอแคน ส่วนเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในการลำ คือ แคน ซึ่งใช้ในการกำกับจังหวะและดูลายในการลำ ปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ มักจะจ้างไปในงานกฐิน และงานผ้าป่า เป็นต้น

โดยหมอลำกลอนที่มีชื่อเสียงของภาคอีสาน มีดังต่อไปนี้

หมอลำกลอนประยุกต์ แก้ไข

หมอลำเพลิน แก้ไข

หมอลำหมู่ แก้ไข

ประเภทของทำนองการลำ แก้ไข

การแสดงหมอลำ ยังมีการลำทำนองต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะการลำ ทำนอง และสังวาส ที่แตกต่างกันไปตามถิ่นต่าง ๆ ในภาคอีสาน มีดังนี้

ทำนองแบ่งตามจังหวะการลำ แก้ไข

ลำทางสั้น แก้ไข

ลำทางยาว แก้ไข

ทำนองแบ่งตามท้องที่ แก้ไข

ทำนองขอนแก่น แก้ไข

ทำนองกาฬสินธุ์-สารคาม แก้ไข

ทำนองอุบล แก้ไข

ทำนองเบ็ดเตล็ด แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข

แหล่งข้อมูลอื่น แก้ไข