สีชมพู
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
สำหรับอำเภอในประเทศไทย ดูที่ อำเภอสีชมพู
สีชมพู เป็นสีที่เกิดจากการผสมสีแดงและสีขาว ในบางครั้งจะถูกกล่าวถึงในลักษณะสีแดงอ่อน สีชมพูมักจะถูกใช้ในการกล่าวถึงลักษณะของเด็กหญิง ซึ่งนิยมใช้ควบคู่กับ สีน้ำเงินหรือสีฟ้า ที่จะแสดงถึงเด็กชาย ในภาษาเหนือ เรียกสีชมพูว่า "จมออน" (จม-ออน)
สีชมพู | |
---|---|
ผิวตรา | Rose |
![]() | |
Hex triplet | #FFC0CB |
sRGBB (r, g, b) | (255, 192, 203) |
CMYKH (c, m, y, k) | (0, 25, 20, 0) |
HSV (h, s, v) | (350°, 25%, 100%) |
Source | HTML/CSS[1] |
B: อยู่ในช่วง [0–255] (ไบต์) H: อยู่ในช่วง [0–100] (ร้อย) |
ศัพทมูลวิทยาแก้ไข
คำว่า "ชมพู" อาจมาจากภาษาสันสกฤต "ชมฺพุ" หมายถึง ต้นชมพู่ และชมพูทวีป (ทวีปที่เต็มไปด้วยต้นชมพู่) ทั้งนี้เนื่องจากดอกชมพู่นั้นมีสีชมพู หรือชมพูอมแดง ในภาษาอินโดนีเซีย ก็เรียกสีชมพูว่า จัมปู (jampu)
คำว่า "pink" (พิงก์) ในภาษาอังกฤษ เป็น สีที่ไม่ได้มีการกล่าวถึงในวรรณกรรมของวิลเลียม เชกสเปียร์ คำว่า pink ถูกใช้ในการกล่าวถึงสีของดอกไม้ Dianthus
การใช้งานและสัญลักษณ์แก้ไข
สีใกล้เคียงแก้ไข
- สีปูนแห้ง
- สีหงชาด
- สีบานเย็น
สีชมพูต่าง ๆแก้ไข
ชื่อภาษาไทย |
HTML name |
R G B Hex |
ตัวอย่างสี | ||
---|---|---|---|---|---|
สีชมพู | Pink | FF | C0 | CB | |
Lightpink | FF | B6 | C1 | ||
Palevioletred | DB | 70 | 93 | ||
Hotpink | FF | 69 | B4 | ||
Deeppink | FF | 14 | 93 | ||
Mediumvioletred | C7 | 15 | 85 |
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "W3C TR CSS3 Color Module, HTML4 color keywords". W3.org. สืบค้นเมื่อ 2010-09-11.