ตารางเวลาการเดินรถ
แก้
เที่ยวไป
แก้
ขบวนรถ
|
ต้นทาง
|
เขาเต่า
|
ปลายทาง
|
หมายเหตุ
|
---|
ชื่อสถานี
|
เวลาออก
|
ชื่อสถานี
|
เวลาถึง
|
---|
ธ251
|
ธนบุรี
|
13.10
|
18.03
|
ประจวบคีรีขันธ์
|
20.00
|
|
* ดพ= รถด่วนพิเศษ / ด= รถด่วน / ร= รถเร็ว / ธ= รถธรรมดา / ช= รถชานเมือง / พช= รถพิเศษชานเมือง / ท= รถท้องถิ่น / น= รถนำเที่ยว / ส= รถสินค้า
|
เที่ยวกลับ
แก้
ขบวนรถ
|
ต้นทาง
|
เขาเต่า[1] |
ปลายทาง
|
หมายเหตุ
|
---|
ชื่อสถานี
|
เวลาออก
|
ชื่อสถานี
|
เวลาถึง
|
---|
ธ252
|
ประจวบคีรีขันธ์
|
04.50
|
06.03
|
ธนบุรี
|
11.45
|
|
ธ254
|
หลังสวน
|
06.20
|
11.20
|
ธนบุรี
|
18.30
|
|
* ดพ= รถด่วนพิเศษ / ด= รถด่วน / ร= รถเร็ว / ธ= รถธรรมดา / ช= รถชานเมือง / พช= รถพิเศษชานเมือง / ท= รถท้องถิ่น / น= รถนำเที่ยว / ส= รถสินค้า
|
เหตุการณ์รถไฟตกราง
แก้
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ลงพื้นที่เกิดเหตุ
เหตุการณ์รถไฟตกรางที่สถานีเขาเต่า เป็นเหตุการณ์ที่นับว่าเป็นอุบัติเหตุทางรถไฟไทยที่มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บมากที่สุดรอบในหลายปี เหตุเกิดขึ้นเมื่อเวลา 04.20 น. ของวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552 โดยรถด่วนขบวนที่ 84 วิ่งจากสถานีตรังปลายทางสถานีกรุงเทพ ทำให้ตู้โดยสารทั้งหมด 15 ตู้ พลิกคว่ำเสีย 6 ตู้ มีผู้เสียชีวิต 7 ราย บาดเจ็บ 88 ราย และทำให้วันนั้นทั้งวัน รถไฟสายใต้ทุกขบวนต้องหยุดให้บริการทั้งหมด
ในเบื้องต้น ทางการรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ประเมินค่าเสียหายทั้งหมดนับ 100 ล้านบาท[2] จากขบวนรถไฟตู้โดยสารทั้งหมด 14 ตู้ ได้รับความเสียหาย 9 ตู้ และความเสียหายของราง คิดเป็นมูลค่าประมาณ 120 ล้านบาท และความเสียหายจากการสั่งระงับการให้บริการรถไฟในเส้นทางสายใต้ 28 เที่ยว และขบวนรถสินค้า 5 เที่ยว เป็นเงิน 9 ล้านบาท[3]
อ้างอิง
แก้