สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง
สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง หรือ ไอซีดี ลาดกระบัง (อังกฤษ: Inland Container Depot : ICD) เป็นสถานีรถไฟชั้นพิเศษ ของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่สร้างขึนเพื่ออำนวยความสะดวก ให้บริการแก่ผู้ส่งออก ผู้นำเข้า และบุคคลทั่วไป ในกิจกรรมทุกอย่างเกี่ยวกับสินค้าประเภทตู้คอนเทนเนอร์ ทั้งขาเข้า และขาออก เสมือนท่าเรือบก ตั้งอยู่ในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 645 ไร่
สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง (ไอซีดี ลาดกระบัง) Inland Container Depot | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สถานีชั้นพิเศษ | |||||||||||||||||
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||||||||
ชื่ออื่น | ICD | ||||||||||||||||
ที่ตั้ง | เลขที่ 33/4 หมู่ 1 ถนนเจ้าคุณทหาร แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10420 กรุงเทพมหานคร | ||||||||||||||||
พิกัด | 13°44′15″N 100°45′53″E / 13.73745°N 100.76484°E | ||||||||||||||||
ผู้ให้บริการ | การรถไฟแห่งประเทศไทย | ||||||||||||||||
ผู้บริหาร | กระทรวงคมนาคม | ||||||||||||||||
สาย | |||||||||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลา แบ่งเป็น • สินค้าขาออกชานชลาที่ 1 • สินค้าขาเข้าชานชาลาที่ 2 | ||||||||||||||||
ทางวิ่ง | ราง 100 ปอนด์ขนาด 1 เมตร จำนวน 4 ทาง | ||||||||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ระดับดิน | ||||||||||||||||
ระดับชานชาลา | ชั้นพิเศษ | ||||||||||||||||
ที่จอดรถ | อาคารที่ทำการสถานี | ||||||||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||||||||
สถานะ | เฉพาะสินค้า | ||||||||||||||||
รหัสสถานี | 3016 (ซด.) | ||||||||||||||||
ประวัติ | |||||||||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 9 เมษายน พ.ศ. 2538 | ||||||||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
|
ประวัติ
แก้คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2534 อนุมัติให้มีการเวนคืนที่ดินในเขตลาดกระบังจำนวน 645 ไร่ เพื่อก่อสร้างสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่องจำนวน 6 สถานี การก่อสร้างแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2537 และเปิดทำการเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2538[1]
การดำเนินงาน
แก้การรถไฟแห่งประเทศไทย ให้สัมปทานเอกชนดำเนินงานบริหารสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 6 สถานีย่อย โดยมีรายชื่อผู้ประกอบการเอกชน ดังนี้
- ประตู 1 - บริษัท สยามชอร์ไซด์ เซอร์วิส จำกัด
- ประตู 2 - บริษัท อีสเทิร์น ซี แหลมฉบัง เทอร์มินัล จำกัด
- ประตู 3 - บริษัท เอเวอร์กรีน คอนเทนเนอร์ เทอร์มินัล (ประเทศไทย) จำกัด
- ประตู 4 - บริษัท ทิฟฟ่า ไอซีดี จำกัด
- ประตู 5 - บริษัท ไทยฮันจิน โลจิสติกส์ จำกัด
- ประตู 6 - บริษัท เอ็น.วาย.เค.ดิสทริบิวชั่น เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด
ขีดความสามารถ
แก้สถานีรถไฟบรรจุและแยกสินค้ากล่อง (ICD) ได้ถูกออกแบบไว้เพื่อรองรับปริมาณคอนเทนเนอร์ได้ปีละประมาณ 400,000 ถึง 600,00 ทีอียู (นับเป็นหน่วยคอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต) ปัจจุบันได้รับการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถ ให้รองรับตู้สินค้าได้ปีละประมาณ 1 ล้านทีอียู
ตารางเวลาการเดินรถ
แก้เที่ยวล่อง
แก้ขบวนรถ | ต้นทาง | ไอซีดี | ปลายทาง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อสถานี | เวลาออก | ชื่อสถานี | เวลาถึง | ||||
ส861 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 23.55 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 03.05 | ||
ส863 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 00.40 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 03.45 | เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ | |
ส865 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 02.20 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 05.20 | ||
ส867 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 04.00 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 07.45 | ||
ส869 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 04.55 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 08.40 | ||
ส871 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 09.37 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 12.40 | เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ | |
ส873 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 11.35 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 15.10 | ||
ส875 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 13.20 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 16.05 | เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ | |
ส877 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 16.05 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 19.30 | ||
ส879 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 18.18 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 21.40 | ||
ส881 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 19.10 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 22.10 | ||
ส883 | ไอซีดี ลาดกระบัง | 22.05 | ต้นทาง | ท่าเรือแหลมฉบัง | 01.10 | ||
หมายเหตุขบวนรถ: ■ = สายเหนือ / ■ = สายตะวันออกเฉียงเหนือ / ■ = สายใต้ / ■ = สายตะวันออก / ■ = สายแม่กลอง ดพ = รถด่วนพิเศษ / ด = รถด่วน / ร = รถเร็ว / ธ = รถธรรมดา / ช = รถชานเมือง / พช = รถพิเศษชานเมือง / ท = รถท้องถิ่น / น = รถนำเที่ยว / ส = รถสินค้า |
เที่ยวขึ้น
แก้ขบวนรถ | ต้นทาง | ไอซีดี | ปลายทาง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อสถานี | เวลาออก | ชื่อสถานี | เวลาถึง | ||||
ส862 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 04.10 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 07.30 | ||
ส864 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 06.00 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 09.32 | เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ | |
ส866 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 06.40 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 10.30 | ||
ส868 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 08.15 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 13.37 | ||
ส870 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 10.00 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 15.05 | ||
ส872 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 13.10 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 15.55 | เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ | |
ส874 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 16.30 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 21.20 | ||
ส876 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 18.20 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 21.57 | เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ | |
ส878 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 20.25 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 23.47 | ||
ส880 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 22.30 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 01.30 | ||
ส882 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 22.55 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 02.07 | ||
ส884 | ท่าเรือแหลมฉบัง | 02.40 | ปลายทาง | ไอซีดี ลาดกระบัง | 05.45 | ||
หมายเหตุขบวนรถ: ■ = สายเหนือ / ■ = สายตะวันออกเฉียงเหนือ / ■ = สายใต้ / ■ = สายตะวันออก / ■ = สายแม่กลอง ดพ = รถด่วนพิเศษ / ด = รถด่วน / ร = รถเร็ว / ธ = รถธรรมดา / ช = รถชานเมือง / พช = รถพิเศษชานเมือง / ท = รถท้องถิ่น / น = รถนำเที่ยว / ส = รถสินค้า |
อ้างอิง
แก้- ↑ "สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง การรถไฟแห่งประเทศไทย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-29. สืบค้นเมื่อ 2009-10-07.