สถานีตลิ่งชัน

(เปลี่ยนทางจาก สถานีชุมทางตลิ่งชัน)

สถานีตลิ่งชัน (อังกฤษ: Taling Chan Station; รหัสสถานี: RW06) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายนครวิถี และรถไฟทางไกลสายใต้ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ตั้งอยู่ในซอยฉิมพลี 12 แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

ตลิ่งชัน
RW06

Taling Chan
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งซอยฉิมพลี 12 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°47′21″N 100°26′21″E / 13.7893°N 100.4393°E / 13.7893; 100.4393
ผู้ให้บริการการรถไฟแห่งประเทศไทย (สายใต้)
รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. (สายสีแดงอ่อน)
ผู้บริหารกระทรวงคมนาคม
สาย
  สายใต้ – สายธนบุรี
ชานชาลา3 (สายใต้)
4 (สายสีแดงอ่อน)
ราง6
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างระดับดิน
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานี4004 (ตช.) (สายใต้)
RW06 (สายสีแดงอ่อน)
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ2 สิงหาคม พ.ศ. 2564; 2 ปีก่อน (2564-08-02)
สร้างใหม่กันยายน พ.ศ. 2552; 14 ปีที่แล้ว (2552-09)
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง สถานีต่อไป
บางบำหรุ สายสีแดงอ่อน สถานีปลายทาง
สถานีก่อนหน้า การรถไฟแห่งประเทศไทย สถานีต่อไป
บางบำหรุ สายใต้
ขบวนรถชานเมือง
บ้านฉิมพลี
บางระมาด
มุ่งหน้า ธนบุรี
สายใต้
สายธนบุรี
บ้านฉิมพลี
มุ่งหน้า หลังสวน
ที่ตั้ง
แผนที่
ชานชาลา

ที่ตั้ง

แก้

ถนนฉิมพลี (ซอยฉิมพลี 12) ในบริเวณสถานีรถไฟตลิ่งชันเดิม ในพื้นที่แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

สถานีตลิ่งชัน เป็นสถานีปลายทางในส่วนตะวันตก (Westbound Section) ของโครงการรถไฟฟ้าชานเมือง สายนครวิถี ไปจนกว่าจะมีความชัดเจนในการก่อสร้างส่วนต่อขยายสายนครวิถี ระยะที่ 2 และ 3 ตั้งแต่สถานีตลิ่งชัน ไปจนถึงสถานีศาลายา สถานีศิริราช และสถานีนครปฐม จากคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยระหว่างนี้ ชานชาลาที่ 2 และ 3 ซึ่งเป็นชานชาลาที่เตรียมไว้สำหรับส่วนต่อขยายช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช จะถูกใช้เป็นรางหลีกสำหรับรถด่วนของทางรถไฟสายใต้

แผนผังของสถานี

แก้
G
อาคารผู้โดยสาร ทางออก 1, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
ราง สายใต้ (เฉพาะขบวนรถธรรมดา)
ชานชาลา 1 สายสีแดงอ่อน มุ่งหน้า สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 2 สายสีแดงอ่อน สถานีปลายทาง (เตรียมไว้สำหรับช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช)
ราง สายใต้ (เฉพาะขบวนรถเร็ว/รถด่วน/รถด่วนพิเศษ)
ชานชาลา 3 สายสีแดงอ่อน สถานีปลายทาง (เตรียมไว้สำหรับช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช)
ราง สายใต้
(เฉพาะขบวนรถเร็ว/รถด่วน/รถด่วนพิเศษ)
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 4 สายสีแดงอ่อน มุ่งหน้า สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์
B
ทางเดินลอดสถานี
- ทางออก 2, ทางเดินลอดสถานีระหว่างชานชาลากับอาคารผู้โดยสาร

เนื่องจากเป็นสถานีปลายทาง และเปิดใช้ชานชาลาที่ 1 เพียงชานชาลาเดียว ขบวนรถที่มาจากสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์จะเข้าจอดที่ชานชาลาที่ 1 จากนั้นผู้โดยสารที่มาจากสถานีรายทางจะต้องลงจากขบวนรถทั้งหมด และผู้โดยสารที่จะโดยสารไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์จะใช้ชานชาลาร่วมกับผู้โดยสารที่เดินทางมาจากสถานีรายทาง โดยผู้โดยสารที่จะโดยสารไปยังสถานีอื่น ๆ จะต้องรอจนกว่าผู้โดยสารที่มาจากสถานีรายทางออกจากขบวนรถทั้งหมด และรอให้เจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบสภาพรถไฟฟ้าให้เรียบร้อยเสียก่อน จากนั้นขบวนรถไฟฟ้าจะออกจากสถานีเพื่อสับรางเข้าสู่สถานีบางบำหรุต่อไป

รูปแบบของสถานี

แก้

สถานีแห่งนี้เป็นสถานีระดับดิน ชานชาลาเกาะกลางแบบแยก (island platform station) ขนาดมาตรฐานยาว 230 เมตร เพื่อรองรับส่วนต่อขยายช่วงตลิ่งชัน-ศิริราช ลักษณะโดยรวมแตกต่างจากสถานีหลักหก เนื่องจากมีทางลอดระหว่างอาคารผู้โดยสารและชานชาลาที่ชั้นใต้ดินแทนการสร้างชั้นจำหน่ายบัตรโดยสารคร่อมชานชาลา

ทางเข้า-ออก

แก้
  • 1 ถนนฉิมพลี, ถนนเลียบทางรถไฟตลิ่งชัน , โรงเรียนโพธิสารพิทยากร (ใช้สะพานลอยจากปากซอยถนนฉิมพลี)
  • 2 ถนนเลียบทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนรอบนอก (ทางเดินใต้ดิน)

เวลาให้บริการ

แก้
ปลายทาง วัน ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายนครวิถี
ชานชาลาที่ 1 และ 4
RW01
RE01
กรุงเทพอภิวัฒน์ จันทร์ - อาทิตย์ 05:30 00:00

การเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น

แก้

ในอนาคต สถานีแห่งนี้จะกลายเป็นสถานีชุมทางระหว่างสายหลักและสายแยกธนบุรี-ศิริราช และในอนาคตยังจะเชื่อมต่อกับสถานีตลิ่งชันอีกแห่งหนึ่งของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมตามแนวถนนราชพฤกษ์

รถโดยสารประจำทาง

แก้

ถนนฉิมพลี (ฝั่งสถานีรถไฟ)

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

แก้
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
79 6
(กปด.26)
  อู่บรมราชชนนี
  สถานีรถไฟบางบําหรุ
  สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. เส้นทางเสริมพิเศษ เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีแดง
สถานีบางบำหรุ และสถานีตลิ่งชัน

[1][2][3]

ถนนบรมราชชนนี (ฝั่งไปรษณีย์ตลิ่งชัน)

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

แก้
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
66 7
(กปด.37)
ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ขสมก.
66 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
79 6
(กปด.26)
  อู่บรมราชชนนี ราชประสงค์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
208 6
(กปด.36)
ตลิ่งชัน อรุณอมรินทร์ รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง เส้นทางวิ่งเป็นวงกลม
511   3
(กปด.23)
  อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) มีรถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงด่านเพชรบุรี)
511 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
515 6
(กปด.36)
เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
516 7 (กปด.17) หมู่บ้านบัวทองเคหะ เทเวศร์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน
556 6
(กปด.16)
วัดไร่ขิง   ARL มักกะสัน รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน

แก้
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
28 (4-38)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลับราชภัฏจันทรเกษม รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
40 (4-39)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย)
123 (4-50)   อ้อมใหญ่ สนามหลวง
124 (4-51)   ศาลายา รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
124 (4-51) รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
146 (4-52)   บางแค ตลิ่งชัน รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางวิ่งเป็นวงกลม
149 (4-53)   พุทธมณฑลสาย 2   BTS เอกมัย
170 (4-49)   บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
507 (3-13)   สำโรง   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
515 (4-61)   เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส
524 (1-23)   หลักสี่   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524
(เครือไทยสมายล์บัส)
539 (4-62)   อ้อมน้อย   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
บจก.บุญมงคลกาญจน์
4-67   ศาลายา กระทรวงพาณิชย์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
  • สองแถว 1475 รถไฟ - รร.โพธิสาร - ศิริราช - วัดประดู่

อ้างอิง

แก้
  1. ข่าวขสมก. ฉบับที่ 021/2564
  2. https://twitter.com/bkk_bus/status/1421843991960592392?s=21 เส้นทางสาย 79 เสริมบางบำหรุ
  3. "ขสมก. ปรับ 4 สายรถเมล์ เป็นฟีดเดอร์เชื่อมสายสีแดง เริ่ม 2 สิงหาคม 64". www.msn.com.