ศาสดา
ผู้ก่อตั้งศาสนา
ศาสดา คือผู้ก่อตั้งศาสนา หรือผู้คิดค้น ริเริ่มในการนำคำสอนไปเผยแผ่ เช่น พระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา ศาสนายูดาห์มีโมเสสเป็นศาสดา เป็นต้น
ศาสนาเดิมของศาสดา
แก้- โมเสส เคยนับถือศาสนาอียิปต์โบราณ ต่อมาเปลี่ยนมานับถือศาสนายูดาห์เมื่อพบพระยาห์เวห์ที่เขาไซนาย
- พระโคตมพุทธเจ้า เคยนับถือศาสนาพราหมณ์ เมื่อตรัสรู้ขณะพระชนมายุ 35 พรรษาได้ทรงประกาศศาสนาพุทธจนปรินิพพาน
- พระเยซู นับถือศาสนายูดาห์ตลอดพระชนม์ชีพ หลังจากการตรึงพระเยซูที่กางเขน สาวกของพระองค์ได้แยกออกไปเป็นศาสนาคริสต์ในปัจจุบัน
- คุรุนานัก เคยนับถือศาสนาฮินดูแต่อยู่ในสังคมของชาวมุสลิม
- มุฮัมมัด เคยนับถือศาสนาเก่าแก่ของอาหรับที่เรียกว่า "ฮานีฟียะฮ์" คล้าย ๆ กับศาสนาของอิบรอฮีมและอิชมาเอล เปลี่ยนศาสนาเมื่อเริ่มประกาศธรรมเมื่ออายุ 40 ปี
- พระบะฮาอุลลอฮ์ห์เคยเป็นมุสลิมแต่กลับเป็นบาฮา
รายนามศาสดา
แก้ชื่อ | ศาสนา | ช่วงชีวิต | ภาพ |
---|---|---|---|
โมเสส | ศาสนายูดาห์ | ศตวรรษที่ 13 ถึงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช[1][2][3] | |
ซาราธุสตรา | ศาสนาโซโรอัสเตอร์ | ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช[4] | |
เล่าจื๊อ | ลัทธิเต๋า | ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช | |
พระโคตมพุทธเจ้า (ดูเพิ่ม: พระพุทธเจ้า) |
ศาสนาพุทธ | 624–544 ปีก่อนคริสต์ศักราช[5][6] | |
พระมหาวีระ (ดูเพิ่ม: ตีรถังกร) |
ศาสนาเชน | 599–527 ปีก่อนคริสต์ศักราช[7][8][9] | |
ขงจื๊อ | ลัทธิขงจื๊อ | 551–479 ปีก่อนคริสต์ศักราช[10][11] | |
พีทาโกรัส | ลัทธิพีทาโกรัส | 520 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |
ม่อจื๊อ | ลัทธิม่อจื๊อ | 470–390 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |
พระเยซู | ศาสนาคริสต์ | 4–5 ปีก่อนคริสต์ศักราช ถึง ค.ศ. 33 | |
พระมณี | ศาสนามาณีกี | ค.ศ. 210–276 | |
มุฮัมมัด | ศาสนาอิสลาม | ราว ค.ศ. 570–632 | |
หลัว ชิง | ลัทธิหลัว | ค.ศ. 1442–1527 | |
หวง เต๋อฮุย | ลัทธิเซียนเทียนเต้า | ค.ศ. 1624–1690 | |
พระบะฮาอุลลอฮ์ | ศาสนาบาไฮ | ค.ศ. 1817–1892 | |
พระบาบ | ศาสนาบาบ | ค.ศ. 1819–1850 | |
หวัง เจฺว๋อี | ลัทธิอนุตตรธรรม | ค.ศ. 1821–1884 | |
คุรุนานัก (ดูเพิ่ม: คุรุซิกข์) |
ศาสนาซิกข์ | ค.ศ. 1469–1539 | |
อามาเตราซุ | ชินโต | ศาสนาชินโตไม่มีศาสดา แต่เชื่อว่ามาจากเทพเจ้าองค์นี้ |
|
โง วัน เจียว | ลัทธิกาวด่าย | ค.ศ. 1878–1932 |
อ้างอิง
แก้- ↑ Albertz 1994, p. 61.
- ↑ Grabbe 2008, pp. 225–6.
- ↑ Killebrew 2005.
- ↑ Melton 2003, p. 191.
- ↑ Cousins 1996, pp. 57–63.
- ↑ Schumann 2003, pp. 10–13.
- ↑ Upinder Singh 2016, p. 313.
- ↑ Zimmer 1953, p. 222.
- ↑ "Mahavira". Britannica Concise Encyclopedia. Encyclopædia Britannica, Inc. 2006. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2009 – โดยทาง Answers.com.
- ↑ Hugan 2013, p. 3.
- ↑ Riegel 2002.
บรรณานุกรม
แก้- Albertz, Rainer (1994). A History of Israelite Religion in the Old Testament Period: From the beginnings to the end of the monarchy. Westminster/John Knox Press. ISBN 0-664-21846-6.
- Cousins, LS (1996). "The dating of the historical Buddha: a review article". Journal of the Royal Asiatic Society. 3. 6 (1): 57–63. doi:10.1017/s1356186300014760. S2CID 162929573.
- Grabbe, Lester Lee (2008). A History of the Jews and Judaism in the Second Temple Period, Volume 2: The Coming of the Greeks: The Early Hellenistic Period (335-175 BCE). A&C Black. pp. 225–6. ISBN 978-0-567-38988-6.
- Hugan, Yong (2013). Confucius: A Guide for the Perplexed. A&C Black. p. 3. ISBN 978-1-4411-9653-8. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 เมษายน 2017.
- Killebrew, Ann E. (2005). Biblical Peoples and Ethnicity: An Archaeological Study of Egyptians, Canaanites, Philistines, and Early Israel, 1300–1100 B.C.E. Society of Biblical Literature. ISBN 978-1-58983-097-4.
- Melton, J. Gordon (2003). Encyclopedia of American Religions (Seventh ed.). Farmington Hills, Michigan: The Gale Group. ISBN 978-0-7876-6384-1.
- Riegel, J (3 กรกฎาคม 2002). "Confucius". Stanford Encyclopedia of Philosophy (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2018.
- Schumann, Hans Wolfgang (2003). The Historical Buddha: The Times, Life, and Teachings of the Founder of Buddhism. Motilal Banarsidass. ISBN 978-81-208-1817-0.
- Singh, Upinder (2016). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century. Pearson Education. ISBN 978-93-325-6996-6.
- Zimmer, Heinrich (1953) [April 1952]. Campbell, Joseph (บ.ก.). Philosophies Of India. London: Routledge & Kegan Paul. ISBN 978-81-208-0739-6.