วรอตสวัฟ (โปแลนด์: Wrocław, ออกเสียง: [vrɔt͡swaf] ( ฟังเสียง); Lower Silesian: Brassel;[2] ละติน: Vratislavia, Wratislavia) หรือ เบร็สเลา (เยอรมัน: Breslau, [ˈbʁɜslaʊ] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองหลักของจังหวัดดอลนือชล็อนสก์ ประเทศโปแลนด์ และถือว่าเป็นที่นัดพบสำคัญในทวีปยุโรป มีความหลากหลายและการเปี่ยมล้นด้วยวัฒนธรรมของประวัติศาสตร์ในเมืองนี้ เป็นดังสะพานเชื่อม ที่เชื่อมระหว่างคนในแต่ละรุ่น แต่ละวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน เป็นแบบเมืองที่ทันสมัยของเมืองใหญ่ ที่มีพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ ชีวิตที่เต็มด้วยวัฒนธรรมและการศึกษา และมากไปกว่านั้น เมืองวรอตสวัฟใกล้เขตชายแดนของสองประเทศ นั่นคือชายแดนติดกับประเทศเช็กเกีย และชายแดนติดกับประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างกรุงเบอร์ลิน 350 กิโลเมตร, ห่างจากกรุงปราก 280 กิโลเมตร, ห่างจากกรุงเวียนนา 390 กิโลเมตร และห่างจากกรุงวอร์ซอ 340 กิโลเมตร มีประชากร 632,240 คน ทำให้เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศโปแลนด์

วรอตสวัฟ
Piasek Island and Ostrów Tumski
Old City Hall
Puppet Theater
Market Square and St. Elizabeth's Church
Monopol Hotel
Wrocław Główny railway station
University of Wrocław
ธงของวรอตสวัฟ
ธง
ตราราชการของวรอตสวัฟ
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
Wrocław: miasto spotkań  (Polish for "Wrocław – The Meeting Place")
วรอตสวัฟตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์
วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟตั้งอยู่ในจังหวัดดอลนือชล็อนสก์
วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟตั้งอยู่ในยุโรป
วรอตสวัฟ
วรอตสวัฟ
พิกัด: 51°06′36″N 17°01′57″E / 51.11000°N 17.03250°E / 51.11000; 17.03250
ประเทศ โปแลนด์
จังหวัดดอลนือชล็อนสก์
เทศมณฑลเทศมณฑลนคร
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 10
สิทธิของนครค.ศ. 1214
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรียัตแซก ซูตรึก
พื้นที่
 • ตัวเมือง292.92 ตร.กม. (113.10 ตร.ไมล์)
ความสูงจุดสูงสุด155 เมตร (509 ฟุต)
ความสูงจุดต่ำสุด105 เมตร (344 ฟุต)
ประชากร
 (31 ธันวาคม ค.ศ. 2020)
 • ตัวเมือง641,928 (4th)[1] คน
 • ความหนาแน่น2,190 คน/ตร.กม. (5,700 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,250,000 คน
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสไปรษณีย์50-041 ถึง 54–612
รหัสพื้นที่+48 71
ทะเบียนรถDW, DX
เว็บไซต์www.wroclaw.pl
Breslau

เมืองพี่น้อง แก้

หมายเหตุ แก้

  1. "Local Data Bank". Statistics Poland. สืบค้นเมื่อ 16 October 2021. Data for territorial unit 0264000.
  2. Gedicht A Gebirgsmadla ei Brassel, in H. Tschampel: Gedichte in schlesischer Mundart. 5th eddition. Schweidnitz, p. 62.